BANNER


กฎหมายน่ารู้


“กฎหมายน่ารู้” เป็นแหล่งข้อมูลการศึกษาและค้นคว้าข้อมูลกฎหมายของต่างประเทศที่สอดคล้องกับปัญหาและสถานการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนประเด็นความท้าทาย พลวัตความเปลี่ยนแปลงด้านกฎหมายของสังคมต่างประเทศ รวมถึงข้อมูลนโยบายทางกฎหมายของต่างประเทศที่น่าสนใจอันจะเป็นประโยชน์แก่นักกฎหมายและผู้สนใจในการต่อยอดความรู้ด้านกฎหมายได้อย่างกว้างขวางและรอบด้าน



ทำความรู้จักกฎหมายด้านการศึกษาของนิวซีแลนด์ ประเทศต้นแบบด้านการศึกษาระดับโลก

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายด้านการศึกษาของนิวซีแลนด์ ประเทศต้นแบบด้านการศึกษาระดับโลก โดยพระราชบัญญัติการศึกษาและการฝึกอบรม (Education and Training Act 2020) ของนิวซีแลนด์เป็นการแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ซึ่งพระราชบัญญัติฉบับใหม่นี้มีเป้าหมายที่จะให้การศึกษาที่มีคุณภาพและส่งเสริมค่านิยมที่ดีให้กับผู้เรียนทุกคน
 
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ทำความรู้จักกฎหมายด้านการศึกษาของนิวซีแลนด์ ประเทศต้นแบบด้านการศึกษาระดับโลก
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


การใช้ e-Signature ของประเทศเกาหลีใต้ภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature Act 2020)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการใช้ e-Signature ของประเทศเกาหลีใต้ภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature Act 2020) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น สร้างความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือของเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ และช่วยอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนในการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์
 
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การใช้ e-Signature ของประเทศเกาหลีใต้ภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Digital Signature Act 2020)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


สหราชอาณาจักรเตรียมห้ามการสูบบุหรี่ภายนอกโรงเรียน โรงพยาบาล และสนามเด็กเล่น

รัฐบาลของสหราชอาณาจักรมีแผนสำหรับการห้ามสูบบุหรี่ภายนอกโรงเรียน โรงพยาบาลและสนามเด็กเล่น อันเนื่องมาจากร่างพระราชบัญญัติยาสูบและบุหรี่ไฟฟ้า (Tobacco and Vapes Bill) เพื่อเป็นการลดความกดดันในการดำเนินการของภาครัฐต่อระบบบริการสุขภาพแห่งชาติ (National Health Service)


ภาวะสุขภาพจิตในสถานที่ทำงานภายใต้กฎหมายต่างประเทศ ตอนที่ ๑

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงปัญหาสุขภาพจิตในที่ทำงานอันเกิดจากสาเหตุต่างๆจากสภาพแวดล้อมการทำงานจึงได้มีการทบทวนกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ได้มีแนวทางให้แก่รัฐบาลและนายจ้างเพื่อปรับปรุงโครงสร้างการทำงานภายในสถานที่ทำงานอันก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง 

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ภาวะสุขภาพจิตในสถานที่ทำงานภายใต้กฎหมายต่างประเทศ ตอนที่ ๑
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายว่าด้วยการรับประกันบ้านเพื่อสุขภาพของประเทศนิวซีแลนด์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการรับประกันบ้านเพื่อสุขภาพของประเทศนิวซีแลนด์  (Healthy Homes Guarantee Act 2017) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของผู้เช่าและสุขภาพของผู้เช่า

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการรับประกันบ้านเพื่อสุขภาพของประเทศนิวซีแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การกำกับดูแลผู้ให้บริการ Streaming โดยร่างกฎหมายว่าด้วยการเผยแพร่ภาพและเสียง ผ่านระบบออนไลน์ของประเทศแคนาดา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการกำกับดูแลผู้ให้บริการ Streaming โดยร่างกฎหมายว่าด้วยการเผยแพร่ภาพและเสียงผ่านระบบออนไลน์ของประเทศแคนาดา (Online Streaming Act 2023) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อให้ทันต่อทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก เนื่องจากปัจจุบันการรับชมเนื้อหาของผู้ชมได้เปลี่ยนแปลงไปมากจากเดิมที่มีเพียงโทรทัศน์และวิทยุเป็นหลัก

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การกำกับดูแลผู้ให้บริการ Streaming โดยร่างกฎหมายว่าด้วยการเผยแพร่ภาพและเสียง ผ่านระบบออนไลน์ของประเทศแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย โดยพระราชบัญญัติที่อยู่อาศัยและการประสานงานบริการด้านสุขภาพของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย โดยพระราชบัญญัติที่อยู่อาศัยและการประสานงานบริการด้านสุขภาพ (Housing Alignment and Coordination of Critical and Effective Supportive Health Services (ACCESS) Act) ของสหรัฐอเมริกา ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยของประชาชนจำนวนมาก ซึ่งเป็นปัญหาที่มีความเร่งด่วน เนื่องจากส่งผลโดยตรงต่อปัญหาสุขภาพจิตของประชาชน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย โดยพระราชบัญญัติที่อยู่อาศัยและการประสานงานบริการด้านสุขภาพของสหรัฐอเมริกา

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การทำงานที่บ้านอย่างมีคุณค่าภายใต้แนวทางขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวทางการทำงานที่บ้านภายใต้คำแนะนำขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO) เนื่องจากมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องภายหลังจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-๑๙
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่  การทำงานที่บ้านภายใต้คำแนะนำขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


ปัญญาประดิษฐ์ควรถูกจัดเก็บภาษีอากรหรือไม

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดของการให้ปัญญาประดิษฐ์นั้นควรถูกจัดเก็บภาษีอากรเช่นเดียวกับมนุษย์หรือไม่ พร้อมทั้งแนวทางการจัดเก็บและข้อดีข้อเสียต่างๆ 

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ปัญญาประดิษฐ์ควรถูกจัดเก็บภาษีอากรหรือไม่
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASE AN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ข้อคิดเห็นของ UNESCO ต่อการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ด้านการศึกษา ตอนที่ ๒

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการที่องค์การเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNSECO) ได้ตระหนักถึงผลกระทบด้านลบต่อการศึกษาจากการใช้ Generative AI (GenAI) จึงได้มีข้อแนะนำให้แก่ภาครัฐของประเทศต่าง ๆ มีแนวทางในการกำกับดูแล โดยมีวัตถุประสงค์เป็นไปเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายการใช้งานด้านการศึกษาอย่างสูงที่สุด ประกอบกับสร้างความปลอดภัย ความเท่าเทียม
และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ข้อคิดเห็นของ UNESCO ต่อการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ด้านการศึกษา ตอนที่ ๒
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


กฎหมายต่างประเทศว่าด้วยการห้ามสารกันแดดเพื่อปกป้องปะการังและสัตว์ทะเลอื่น ๆ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายของประเทศต่าง ๆต่อการกำหนดการห้ามใช้ การจำหน่าย หรือการนำเข้าสารกันแดดที่อาจเป็นภัยต่อทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายต่างประเทศว่าด้วยการห้ามสารกันแดดเพื่อปกป้องปะการังและสัตว์ทะเลอื่น ๆ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของชาวพื้นเมือง โดยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลการศึกษาของกลุ่มชาวพื้นเมืองของประเทศแคนาดา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของชาวพื้นเมือง โดยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลการศึกษาของกลุ่มชาวพื้นเมืองของประเทศแคนาดา (First Nations Control of First Nations Education Act) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ชาวพื้นเมืองได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ควรจะเป็น

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของชาวพื้นเมือง โดยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลการศึกษาของกลุ่มชาวพื้นเมืองของประเทศแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การให้ความคุ้มครอง “การออกแบบ” ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการออกแบบของประเทศออสเตรเลีย (Designs Act)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการให้ความคุ้มครอง “การออกแบบ” ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการออกแบบของประเทศออสเตรเลีย (Designs Act) ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเข้ามาอุดช่องว่างต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานสามารถสรรค์สร้างผลงานประเภทการออกแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกันกับทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอื่น ๆ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การให้ความคุ้มครอง “การออกแบบ” ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการออกแบบของประเทศออสเตรเลีย (Designs Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ้างงานที่เป็นธรรมของสหรัฐอเมริกา (Fair Labor Standards Act: FLSA)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติว่าด้วยการจ้างงานที่เป็นธรรมของสหรัฐอเมริกา (Fair Labor Standards Act: FLSA) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสภาพการทำงานที่ดีขึ้น โดยการกำหนดมาตรฐานของรัฐบาลกลางสำหรับค่าจ้างขั้นต่ำ ค่าล่วงเวลา การจ้างแรงงานเด็ก และการบันทึกข้อมูลของนายจ้าง

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ้างงานที่เป็นธรรมของสหรัฐอเมริกา (Fair Labor Standards Act: FLSA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


มาตรการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยข้อมูลทางการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (EHR) โดยกฎหมายว่าด้วยการรักษาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Cures Act) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงมาตรการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยข้อมูลทางการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (EHR) โดยกฎหมายว่าด้วยการรักษาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Cures Act) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาได้ง่ายขึ้น โดยการนำมาตรฐานการรักษาแบบใหม่มาใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Health Information: EHI)

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยข้อมูลทางการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (EHR) โดยกฎหมายว่าด้วยการรักษาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Cures Act) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ข้อคิดเห็นของ UNESCO ต่อการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ด้านการศึกษา ตอนที่ ๑

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการที่องค์การเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNSECO) ได้ตระหนักถึงผลกระทบด้านลบต่อการศึกษาจากการใช้ Generative AI (GenAI) จึงได้มีข้อแนะนำให้แก่ภาครัฐของประเทศต่าง ๆ มีแนวทางในการกำกับดูแล โดยมีวัตถุประสงค์เป็นไปเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายการใช้งานด้านการศึกษาอย่างสูงที่สุด ประกอบกับสร้างความปลอดภัย ความเท่าเทียม
และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ข้อคิดเห็นของ UNESCO ต่อการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ด้านการศึกษา ตอนที่ ๑
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


หลักการห้ามผลักดันกลับต่อสภาวการณ์โรคระบาดโควิด-๑๙

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงหลักการห้ามผลักดันกลับ (Principle of non-refloument) อันเป็นหลักการทางสิทธิมนุษยชนสากลระหว่างประเทศภายใต้สถานการณ์การโรคระบาดโควิด-๑๙ ที่อาจส่งผลกระทบต่อผู้ลี้ภัย (Refugee) ผู้ขอลี้ภัย (Asylum seeker) และผู้อพยพ (Migrant)

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ หลักการห้ามผลักดันกลับต่อสภาวการณ์โรคระบาดโควิด-๑๙
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


แนวทางการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์แบบระบบข้อมูลสื่อผสมผสานขนาดใหญ่ สำหรับงานด้านสุขภาพขององค์การอนามัยโลก

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ต่อการสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับการใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบข้อมูลสื่อผสมผสานขนาดใหญ่ (Large Multimodal Models: LMMs) ในงานด้านสุขภาพ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ แนวทางการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ แบบระบบข้อมูลสื่อผสมผสานขนาดใหญ่ สำหรับงานด้านสุขภาพขององค์การอนามัยโลก
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


แนวทางการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ สำหรับงานด้านสุขภาพขององค์การอนามัยโลก (WHO Guildance on Ethics and governance of artificial intelligence for health)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ต่อการสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในงานด้านสุขภาพ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ แนวทางการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ สำหรับงานด้านสุขภาพขององค์การอนามัยโลก
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรในกลุ่มผู้สูงอายุ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก รัฐบาลญี่ปุ่นจึงส่งเสริมการเพิ่มการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงานของประชากรผู้สูงอายุ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายว่าด้วยการควบคุมสื่อลามกอนาจารของสตรีของประเทศอินเดีย (Indecent Representation of Women Act 1986)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการควบคุมสื่อลามกอนาจารของสตรีของประเทศอินเดีย (Indecent Representation of Women Act 1986)  โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อควบคุมภาพลักษณ์ของสตรีที่ปรากฏในสื่ออินเดียในปัจจุบัน ซึ่งให้ความสำคัญกับความรู้สึกของคนในสังคมและความถูกต้องตามศีลธรรมอันดี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมและทัศนคติที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมสื่อลามกอนาจารของสตรีของประเทศอินเดีย (Indecent Representation of Women Act 1986)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พระราชบัญญัติว่าด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ของประเทศนิวซีแลนด์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติว่าด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ของประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์เพื่อแก้ปัญหาอัตราการเกิดต่ำ ซึ่งมาตรการทางกฎหมายดังกล่าวจะช่วยคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยในการให้กำเนิดบุตรโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ 
พระราชบัญญัติว่าด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ของประเทศนิวซีแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายการควบคุมการใช้ปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรป (The EU Artificial Intelligence Act)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการใช้ปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรป ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการวางกรอบแนวคิดทางกฎหมายเพื่อป้องกันการใช้ปัญญาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือที่นำไปสู่การกระทำที่ผิดทางกฎหมายต่างๆ หรือนำไปใช้ประโยชน์ในทางที่มิชอบ ตลอดจนสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมที่ดี ความโปร่งใสในการใช้งานและสิทธิขั้นพื้นฐานของประชากรชาวยุโรป

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการใช้ปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรป
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


แนวทางของ OECD ต่อการจัดเก็บภาษีในสภาวะสังคมผู้สูงอายุ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาหรือ OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) ต่อการสร้างรายได้ให้แก่ภาครัฐในรูปแบบของการจัดเก็บภาษีประเภทต่างๆ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ แนวทางของ OECD ต่อการจัดเก็บภาษีในสภาวะสังคมผู้สูงอายุ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง “การคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ (Trafficking Victims Protection Act: TVPA)” ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านอาชญากรรมการค้ามนุษย์ที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ และขับเคลื่อนแนวทางการจัดการกับปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ (Trafficking Victims Protection Act: TVPA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ศาลญี่ปุ่นพิพากษายกฟ้องคดีการยื่นขอรับสิทธิบัตรสำหรับสิ่งประดิษฐ์โดย AI

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ศาลญี่ปุ่นพิพากษายกฟ้องคดีการยื่นขอรับสิทธิบัตรสำหรับสิ่งประดิษฐ์โดย AI
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


รัฐบัญญัติควบคุมเสียงรบกวน พ.ศ. ๒๕๑๕ (Noise Control Act: NCA) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงรัฐบัญญัติควบคุมเสียงรบกวน พ.ศ. ๒๕๑๕ (Noise Control Act: NCA) ของสหรัฐอเมริกา ที่มีบทบาทในการจัดการกับแหล่งที่มาของเสียงรบกวน รวมถึงยานยนต์ เครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์อื่น ๆ โดยการออกกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการปล่อยเสียงรบกวนจากแหล่งต่าง ๆ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ รัฐบัญญัติควบคุมเสียงรบกวน พ.ศ. ๒๕๑๕ (Noise Control Act: NCA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


รัฐบัญญัติควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act: TSCA) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง รัฐบัญญัติควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act: TSCA) ของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของสุขภาพประชาชนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของสารเคมีให้ได้รับการควบคุมอย่างเหมาะสม

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ รัฐบัญญัติควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act: TSCA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ในการนำเข้าสุนัข แมว และเฟอเรท ของสหราชอาณาจักร

ร่างกฎหมายฉบับนี้ได้รวมมาตรการที่อนุญาตให้สหราชอาณาจักร (อังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ) กำกับดูแลการเพิ่มอายุขั้นต่ำของสัตว์ที่เป็น สุนัข และแมวที่ถูกนำเข้าและห้ามการนำเข้าสุนัขและแมวที่ตั้งครรภ์เกินกว่า ๔๒ วัน หรือที่ถูกตัดอวัยวะ(Mutilation) เช่น  สุนัขที่ถูกตัดหู (ears cropped) และตัดหาง (tail docked) รวมถึงแมวที่ถูกถอดกรงเล็บ (declawing) เป็นต้น

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ในการนำเข้าสุนัข แมว และเฟอเรท (Animal Welfare (Import of Dogs, Cats and Ferrets) ของสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


 


ร่างกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและการตอบโต้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide (Prevention and Response) Bill) ของสหราชอาณาจักร

ร่างกฎหมายฉบับนี้ถูกพิจารณาวาระที่สองในชั้นของวุฒิสภาเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๔ ซึ่งถือเป็นร่างกฎหมายที่เป็น private member bill ที่ผลักดันโดย บารอเนส เฮเลนา เคนเนดี้ (Baroness Kennedy of The Shaws) สมาชิกวุฒิสภา โดยกำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับวิธีการที่รัฐบาลใช้ติดตามและรายงานกิจกรรมต่าง ๆ ในการป้องกันและตอบโต้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และอาชญากรรมที่โหดร้ายอื่น ๆ 

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและการตอบโต้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide (Prevention and Response) Bill) ของสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายว่าด้วยการเสียชีวิตจากผลของการกระทำอันผิดกฎหมายของรัฐฟลอริดา (Florida Wrongful Death Act)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการเสียชีวิตจากผลของการกระทำอันผิดกฎหมายของรัฐฟลอริดา(Florida Wrongful Death Act) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคคลที่ทำให้ผู้อื่นเสียชีวิตโดยมิชอบจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตน และผู้รอดชีวิตและครอบครัวของผู้เสียชีวิตจะได้รับค่าชดเชยที่ยุติธรรมและการเยียวยาทางการเงินจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการเสียชีวิตจากผลของการกระทำอันผิดกฎหมายของรัฐฟลอริดา(Florida Wrongful Death Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การจัดการปัญหาการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของชาวต่างชาติโดยกฎหมายการจัดการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของประเทศญี่ปุ่น

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการจัดการปัญหาการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของชาวต่างชาติโดยกฎหมายการจัดการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งกำหนดให้บุคคลหรือนิติบุคคลใด ๆ ที่ได้มาหรือใช้อสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่ที่กำหนดจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งจะมีการกำหนดพื้นที่ที่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ “พื้นที่ตรวจสอบ” และ “พื้นที่ตรวจสอบพิเศษ”

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การจัดการปัญหาการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของชาวต่างชาติโดยกฎหมายการจัดการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของประเทศญี่ปุ่น
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยการบันทึกสื่อในเรือนจำ (Prison Media Bill) ของอังกฤษและเวลส์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการบันทึกสื่อในเรือนจำ (Prison Media Bill) ของอังกฤษและเวลส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปิดช่องว่างทางกฎหมายที่ยังไม่มีบทบัญญัติในการกระทำความผิดสำหรับบุคคลที่สามจากภายนอกเรือนจำที่อัปโหลดสื่อบันทึกโดยรู้ว่าเกิดจากการบันทึกที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายภายในอาณาเขตเรือนจำ (prison land)

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการบันทึกสื่อในเรือนจำ (Prison Media Bill) ของอังกฤษและเวลส์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาของอังกฤษและเวลส์ (The Schools (Mental Health Professionals) Bill)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาของอังกฤษและเวลส์ (The Schools (Mental Health Professionals) Bill) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา รวมถึงเสนอการศึกษาภาคบังคับด้านสุขศึกษาในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย โดยกำหนดการให้เงินทุนเพื่อสนับสนุนการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาและการสร้างทีมบริการด้านสุขภาพจิตสำหรับเด็กและเยาวชน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาของอังกฤษและเวลส์ (The Schools (Mental Health Professionals) Bill)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


สาระน่ารู้ของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบโดยองค์การอนามัยโลก (WHO Framework Convention on Tobacco Control; WHO FCTC)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง สาระน่ารู้ของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบโดยองค์การอนามัยโลก (WHO Framework Convention on Tobacco Control; WHO FCTC) ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่เกิดจากความตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาสูบขององค์การอนามัยโลก และสะท้อนให้เห็นถึงมาตรการด้านสุขภาพขั้นสูงสุดในการส่งเสริมการสาธารณสุขและเป็นมิติทางกฎหมายใหม่สำหรับความร่วมมือด้านสุขภาพระหว่างประเทศ


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ สาระน่ารู้ของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบโดยองค์การอนามัยโลก (WHO Framework Convention on Tobacco Control; WHO FCTC)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายเพื่อคุ้มครองลูกจ้าง; ร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อกับนายจ้างนอกเวลาทำงาน (Right to Disconnect Law) ของรัฐ Ontario

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง กฎหมายเพื่อคุ้มครองลูกจ้าง; ร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อกับนายจ้างนอกเวลาทำงาน (Right to Disconnect Law) ของรัฐ Ontario โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ลูกจ้างได้รับสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อจากงาน ซึ่งภายใต้กฎหมายนี้ นายจ้างจำเป็นต้องคำนึงถึงสิทธิในตัดการเชื่อมต่อดังกล่าวของพนักงาน ควบคู่ไปกับการใช้กฎหมายแรงงานของแคนาดา

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายเพื่อคุ้มครองลูกจ้าง; ร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อกับนายจ้างนอกเวลาทำงาน (Right to Disconnect Law) ของรัฐ Ontario
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยการลักพาตัวสัตว์เลี้ยงของอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการลักพาตัวสัตว์เลี้ยงของอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการลักพาตัวสัตว์เลี้ยงของอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย C-52 พระราชบัญญัติความรับผิดชอบในการขนส่งทางอากาศและแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งและพระราชบัญญัติการเดินเรือของแคนาดา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมาย C-52 พระราชบัญญัติความรับผิดชอบในการขนส่งทางอากาศและแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งและพระราชบัญญัติการเดินเรือของแคนาดา (An Act to enact the Air Transportation Accountability Act and to amend the Canada Transportation Act and the Canada Marine Act)

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย C-52 พระราชบัญญัติความรับผิดชอบในการขนส่งทางอากาศและแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งและพระราชบัญญัติการเดินเรือของแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม (การรักษาความลับทางการทหารของออสเตรเลีย) ค.ศ. ๒๐๒๓

วัตถุประสงค์หลักของร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม (การรักษาความลับทางการทหารของออสเตรเลีย) ค.ศ. ๒๐๒๓ (the Defence Amendment (Safeguarding Australia’s Military Secrets Bill 2023) คือการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม ค.ศ. ๑๙๐๓ (the Defence Act 1903: TDA) เพื่อป้องกันไม่ให้อดีตข้าราชการกลาโหม (Defence staff members) รวมถึงสมาชิกกองกำลังป้องกันประเทศออสเตรเลีย (Australian Defence Force: ADF) ไปทำงานที่มีการให้ข้อมูลที่มีความละเอียดอ่อนแก่กองทัพ รัฐบาล หน่วยงานรัฐของต่างชาติโดยไม่ได้รับอนุญาต

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม (การรักษาความลับทางการทหารของออสเตรเลีย) ค.ศ. ๒๐๒๓

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายต่อต้านการก่อการร้าย (สัญลักษณ์ต้องห้ามที่แสดงความเกลียดชังและมาตรการอื่น ๆ) ค.ศ. ๒๐๒๓ ของออสเตรเลีย

ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายต่อต้านการก่อการร้าย (สัญลักษณ์ต้องห้ามที่แสดงความเกลียดชังและมาตรการอื่น ๆ) ค.ศ.๒๐๒๓ (Counter-Terrorism Legislation Amendment (Prohibited Hate Symbols and Other Measures) Bill 2023 ของออสเตรเลีย ได้เสนอการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอาญาของสหพันธรัฐ โดยเสนอบทบัญญัติใหม่เกี่ยวกับการกระทำความผิดที่เป็นพฤติกรรมของกลุ่มหัวรุนแรงหรือผู้ก่อการร้าย และแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายฉบับปัจจุบันเกี่ยวกับความผิดของกลุ่มหัวรุนแรงหรือผู้ก่อการร้าย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายต่อต้านการก่อการร้าย (สัญลักษณ์ต้องห้ามที่แสดงความเกลียดชังและมาตรการอื่น ๆ) ค.ศ. ๒๐๒๓ ของออสเตรเลีย

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย



 


พระราชบัญญัติยาและเครื่องสำอาง (Drugs and Cosmetics Act) ของประเทศอินเดีย

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติยาและเครื่องสำอาง (Drugs and Cosmetics Act) ของประเทศอินเดียซึ่งมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพของเครื่องสำอางและยา โดยกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต นำเข้า และจำหน่ายเครื่องสำอางและยาโดยเฉพาะ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติยาและเครื่องสำอาง (Drugs and Cosmetics Act) ของประเทศอินเดีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


พระราชบัญญัติความปลอดภัยของก๊าซแรงดันสูง (High Pressure Gas Safety Act) ของประเทศญี่ปุ่น

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติความปลอดภัยของก๊าซแรงดันสูง (High Pressure Gas Safety Act) ของประเทศญี่ปุ่น ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดการก๊าซแรงดันสูง โดยกำหนดให้มีการควบคุมควบคุมการผลิต การจัดเก็บ และการจำหน่ายอย่างเข้มงวด

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติความปลอดภัยของก๊าซแรงดันสูง (High Pressure Gas Safety Act) ของประเทศญี่ปุ่น

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


กฎหมายเกี่ยวกับดอกไม้ไฟของบริเตนใหญ่

บทความฉบับนี้แสดงรายละเอียดโดยรวมของกฎหมายในปัจจุบันที่ควบคุมการผลิต การเก็บรักษา การจัดหา การครอบครอง และการใช้ดอกไม้ไฟในอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์  

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายเกี่ยวกับดอกไม้ไฟของบริเตนใหญ่


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (การส่งออกปศุสัตว์) (Animal Welfare (Livestock Exports) Bill 2023-24) ของบริเตนใหญ่

ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (การส่งออกปศุสัตว์) (Animal Welfare (Livestock Exports) Bill 2023-24) ของบริเตนใหญ่ ซึ่งบัญญัติห้ามการส่งออกปศุสัตว์จากบริเตนใหญ่ไปนอกเกาะบริเตนใหญ่เพื่อฆ่าเป็นอาหาร ถูกเสนอเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ค.ศ. ๒๐๒๓ และได้มีการพิจารณาในวาระที่สองเมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ค.ศ. ๒๐๒๓

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (การส่งออกปศุสัตว์) (Animal Welfare (Livestock Exports) Bill 2023-24) ของบริเตนใหญ่

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (Infectious Diseases Act: IDA) ของประเทศสิงคโปร์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติโรคติดต่อ (IDA) ถือเป็นกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสิงคโปร์ โดยคำนึงถึงความเป็นอยู่ที่ดีของชาวสิงคโปร์ชาวสิงคโปร์และทำให้ชาวสิงคโปร์สามารถมั่นใจได้ว่าจะพวกเขาจะสามารถรับมือกับภัยคุกคามด้านสุขภาพได้

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (Infectious Diseases Act: IDA) ของประเทศสิงคโปร์


กฎหมายการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ (Disability Discrimination Act: DDA) ของประเทศไอร์แลนด์เหนือ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ (Disability Discrimination Act: DDA) ของประเทศไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งเป็นกฎหมายที่รับรองสิทธิของคนพิการในสถานที่ทำงานและมีผลกระทบต่อเจ้าของธุรกิจ เนื่องจากมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการได้อย่างเท่าเทียมกัน และกำหนดให้การเลือกปฏิบัติเนื่องจากความทุพพลภาพของคนพิการถือเป็นสิ่งผิดกฎหมาย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ (Disability Discrimination Act: DDA) ของประเทศไอร์แลนด์เหนือ


ร่างกฎหมาย S-233 ของเเคนาดา

ร่างกฎหมายฉบับนี้กำหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังดำเนินการพัฒนาระบบของชาติเพื่อกำหนดการประกันรายได้พื้นฐานในการดำรงชีวิตซึ่งให้รวมถึงบุคคลในแคนาดาที่มีอายุมากกว่า ๑๗ ปี
รวมถึงผู้ทำงานรับจ้าง (temporary worker) ผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวร (permanent resident) ผู้ยื่นข้อเรียกร้องเพื่อการคุ้มครองในฐานะผู้ลี้ภัย (refuge claimants)


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย S – 233 : พระราชบัญญัติว่าด้วยการพัฒนากรอบการดำเนินการระดับชาติ เพื่อประกันรายได้พื้นฐานในการดำรงชีวิต (An Act to Develop a National Framework for a Guaranteed Livable Basic Income) ของแคนาดา

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย



​​​​​​​


กฎหมายว่าด้วยการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนในอาร์เจนติน่า

สัญญาร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP)
มีความแตกต่างกับสัญญาทางปกครองทั่วไปภายใต้กฎหมายของอาร์เจนติน่า เพราะเมื่อเทียบกันแล้วสัญญา PPP มีการสร้างความเท่าเทียมกันมากกว่าระหว่าง
คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย  นอกจากนี้ สัญญา PPP ได้มีการจัดหาเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นมากขึ้น ในการระบุข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญา รวมถึงแหล่งที่มาของเงินลงทุนที่กว้างมากและกลไกการระงับข้อพิพาทที่มีความหลากหลายมากขึ้น


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนในอาร์เจนติน่า

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พระราชบัญญัติว่าด้วยการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ (Smoking (Prohibition in Certain Places) Act 1992) ของประเทศสิงคโปร์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง พระราชบัญญัติว่าด้วยการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จากผลกระทบที่เป็นอันตรายของควันบุหรี่มือสอง กล่าวคือควันที่ผู้สูบคนนั้นพ่นลมหายใจออกมา

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ (Smoking (Prohibition in Certain Places) Act 1992) ของประเทศสิงคโปร์

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยด้านอาหารและสารอันตราย (Ensuring Safe and Toxic-Free Foods Act) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยด้านอาหารและสารอันตราย (Ensuring Safe and Toxic-Free Foods Act)  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างมาตรการด้านความปลอดภัยของอาหารที่สำคัญและปกป้องชาวอเมริกันและครอบครัวจากสารเคมีและสารที่เป็นอันตราย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่  กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยด้านอาหารและสารอันตราย (Ensuring Safe and Toxic-Free Foods Act) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศของประเทศจีน (The Law on Air Pollution Prevention and Control)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศของประเทศจีนซึ่งเป็นกฎหมายกำหนดกรอบเพื่อจัดการกับมลพิษทางอากาศของจีน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องและพัฒนาสิ่งแวดล้อม การป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศ การปกป้องสุขภาพของประชาชน การส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางระบบนิเวศ และการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศของประเทศจีน (The Law on Air Pollution Prevention and Control)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พระราชบัญญัติการจราจรทางบกของประเทศสิงคโปร์ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (Road Traffic Act: RTA)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติการจราจรทางบกของประเทศสิงคโปร์ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (Road Traffic Act: RTA) ซึ่งได้รับการแก้ไขในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และ พ.ศ. ๒๕๖๔ เพื่อเพิ่มบทกำหนดโทษทางอาญาและเพิ่มความเข้มงวดในการกำกับดูแลเพื่อความปลอดภัยบนท้องถนน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติการจราจรทางบกของประเทศสิงคโปร์ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (Road Traffic Act: RTA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การบังคับให้บุคคลสูญหายในไนจีเรีย

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ไนจีเรียได้เผชิญกับปัญหาการบังคับบุคคลให้สูญหายเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ด้านความปลอดภัยในประเทศที่ย่ำแย่ลง กองกำลังความมั่นคงของไนจีเรียได้ตกเป็นที่จับตามองอยู่เสมอในข้อกล่าวหาด้านนโยบายที่ไตร่ตรองมาเป็นอย่างดีในการกระทำการแก่ผู้ต้องสงสัยผ่านการใช้วิธีการวิสามัญฆาตกรรม รวมถึงการบังคับบุคคลให้สูญหาย ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวถือเป็นการเพิกเฉยต่อพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐภายใต้กฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศอย่างเห็นได้ชัด

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การบังคับให้บุคคลสูญหายในไนจีเรีย

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างอย่างเสมอภาค (the Equal Pay Act) ของนิวซีแลนด์

พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างอย่างเสมอภาค ค.ศ. ๑๙๗๒ (the Equal Pay Act 1972: EPA)  ของนิวซีแลนด์กำหนดห้ามนายจ้างจ่ายค่าจ้างให้ชายและหญิงที่ทำงานอย่างเดียวกันในอัตราที่แตกต่างกัน รวมถึงป้องกันการเลือกปฏิบัติเรื่องอัตราค่าจ้างเท่านั้น แต่ไม่ห้ามการเลือกปฏิบัติโดยทั่วไปต่อผู้หญิงในการจ้างงาน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างอย่างเสมอภาค (the Equal Pay Act) ของนิวซีแลนด์


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


 


พระราชบัญญัติการไร้ที่อยู่อาศัย ค.ศ. ๒๐๐๒ (Homelessness Act 2002) ของประเทศอังกฤษ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติการไร้ที่อยู่อาศัย ค.ศ. ๒๐๐๒ (Homelessness Act 2002) ของประเทศอังกฤษซึ่งนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงก้าวสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลือบุคคลไร้ที่อยู่อาศัยภายในประเทศอังกฤษและเป็นกฎหมายสำคัญที่ออกมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงการจัดสรรที่พักอาศัยของหน่วยงานส่วนท้องถิ่นด้วย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติการไร้ที่อยู่อาศัย ค.ศ. ๒๐๐๒ (Homelessness Act 2002) ของประเทศอังกฤษ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พระราชบัญญัติการดูแลผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลีย (Aged Care Act 1997)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติการดูแลผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลีย (Aged Care Act 1997) ซึ่งได้กำหนดกรอบทางกฎหมายสำหรับการให้เงินสนับสนุนและกฎระเบียบในการดูแลผู้สูงอายุโดยรัฐบาลออสเตรเลียจะมอบเงินสนับสนุนบริการดูแลผู้สูงอายุสำหรับผู้สูงอายุในประเภทต่าง ๆ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติการดูแลผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลีย (Aged Care Act 1997)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายว่าด้วยการจัดการมลพิษทางน้ำ (Clean Water Act: CWA) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติควบคุมมลพิษทางน้ำของรัฐบาลกลางปี ค.ศ. ๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๙๑) ซึ่งเป็นกฎหมายหลักฉบับแรกของสหรัฐเพื่อจัดการกับมลพิษทางน้ำ โดยการเสริมสร้างความตระหนักรู้ของสาธารณชนและความกังวลเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้ำนำไปสู่การปฏิรูปเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. ๑๙๗๒ (พ.ศ. ๒๕๑๕) กฎหมายดังกล่าวจึงกลายเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อ Clean Water Act (CWA)

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการจัดการมลพิษทางน้ำ (Clean Water Act: CWA) ของสหรัฐอเมริกา
*
บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมาย Food Allergy Safety, Treatment, Education, and Research Act of 2021 (FASTER) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎระเบียบ Food Allergy Safety, Treatment, Education, and Research Act of 2021 หรือที่เรียกว่า FASTER Act โดยมีการแก้ไขรายการสารก่อภูมิแพ้ที่ต้องแสดงบนฉลากกำหนดให้งา (sesame) อยู่ในรายการสารก่อภูมิแพ้ในอาหารเป็นลำดับที่ ๙ ภายใต้กฎระเบียบการแสดงฉลากอาหารที่มีสารก่อภูมิแพ้ (Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004) ซึ่งเดิมมีอยู่ ๘ ชนิด โดยกฎระเบียบดังกล่าวมีผลบังคับใช้โดยทั่วไปตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เป็นต้นไป

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมาย Food Allergy Safety, Treatment, Education, and Research Act of 2021 (FASTER) ของสหรัฐอเมริกา
*
บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


ร่างกฎหมาย C-41 ของเเคนาดา

ร่างกฎหมาย C-41 ได้แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา เพื่อให้ชาวแคนาดาสามารถให้ความช่วยเหลือบางรูปแบบในพื้นที่ที่ถูกกลุ่มผู้ก่อการร้ายควบคุมได้ เมื่อได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความปลอดภัยสาธารณะ ร่างกฎหมาย C-41 ได้กำหนดเงื่อนไขให้ต้องมีการปฏิบัติตามก่อนจึงจะสามารถพิจารณาให้การอนุญาตได้ ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบด้านความความปลอดภัยให้เสร็จสิ้นด้วย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย C- 41 : พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาและการแปรญัตติต่อเนื่อง ถึงพระราชบัญญัติอื่น ๆ (An Act to amend the Criminal Code and to make consequential amendments to other Acts) ของแคนาดา

 
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


ร่างกฎหมาย C-35 ของแคนาดา

ร่างกฎหมายฉบับนี้ได้บัญญัติหลักการเกี่ยวกับการกำหนดแนวทางของรัฐบาลกลางในการส่งเสริมและรักษาการเรียนรู้และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย หรือเรียกโดยย่อว่า Early Learning and Child Care (ELCC) ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ในราคาย่อมเยา มีความครอบคลุม และมีคุณภาพสูง โดยมีการประสานความร่วมมือกับทางมณฑลและชนเผ่าพื้นเมือง  ในบทนำ (preamble) ของร่างกฎหมายฉบับนี้แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของทางรัฐบาลกลางที่ยังคงดำเนินการตามกรอบการเรียนรู้และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยในรูปแบบพหุภาคี และของชนเผ่าพื้นเมือง รวมถึงการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ดำเนินการโดยแคนาดาในขอบเขตเรื่องสิทธิมนุษยชน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย C-35 : พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย (An Act respecting early learning and child care) ของแคนาดา

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


กฎหมายการย้ายถิ่นฐานของผู้มีทักษะความสามารถของเยอรมนี (The Skilled Immigration Act)

กฎหมายการย้ายถิ่นฐานของผู้มีทักษะความสามารถของเยอรมนี (The Skilled Immigration Act) เป็นกฎหมายใหม่ที่ช่วยขยายโอกาสสำหรับการเข้ามาทำงานในเยอรมนี ในปัจจุบัน เป็นเรื่องง่ายขึ้นสำหรับแรงงานฝีมือที่มีการฝึกอบรมวิชาชีพและไม่ใช่การฝึกอบรมเชิงวิชาการจากประเทศนอกสหภาพยุโรปที่จะย้ายถิ่นฐานไปทำงานในเยอรมนี

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายการย้ายถิ่นฐานของผู้มีทักษะความสามารถของเยอรมนี (The Skilled Immigration Act)

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


กฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act) ซึ่งเป็นกฎหมายที่กำกับดูแลการรับบุตรบุญธรรมในประเทศสิงคโปร์ โดยการกำกับดูแลการรับบุตรบุญธรรมนั้นถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้คำสั่งตามกฎหมายทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการโอนสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบทั้งหมดของบิดามารดาผู้ให้กำเนิดไปยังฝ่ายผู้รับบุตรบุญธรรมอย่างถาวร

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act) ซึ่งกำกับดูแลการรับบุตรบุญธรรมให้อยู่ภายใต้กฎหมายทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการโอนสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบทั้งหมดของบิดามารดาผู้ให้กำเนิดไปยังฝ่ายผู้รับบุตรบุญธรรมอย่างถาวร

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร (ตอนที่ ๑)

ทุกประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีกฎระเบียบเรื่องบุคคลที่มีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (franchise) ในการเลือกตั้งนั้นปกติขึ้นอยู่กับสัญชาติ อายุ และที่อยู่อาศัย มาตรา ๒ กำหนดความหมายของสิทธิในการลงคะแนนเสียงและบุคคลที่รับผิดชอบสำหรับบทกฎหมายสำหรับสิทธิในการลงคะแนนเสียง เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมากฎระเบียบเกี่ยวกับผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักรได้มีความหลากหลายกันไปซึ่งขึ้นอยู่กับถิ่นที่อยู่ในสหราชอาณาจักรที่บุคคลนั้นอาศัยอยู่

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร (ตอนที่ ๑)


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร (ตอนที่ ๒)

ทุกประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีกฎระเบียบเรื่องบุคคลที่มีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (franchise) ในการเลือกตั้งนั้นปกติขึ้นอยู่กับสัญชาติ อายุ และที่อยู่อาศัย มาตรา ๒ กำหนดความหมายของสิทธิในการลงคะแนนเสียงและบุคคลที่รับผิดชอบสำหรับบทกฎหมายสำหรับสิทธิในการลงคะแนนเสียง เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมากฎระเบียบเกี่ยวกับผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร ได้มีความหลากหลายกันไปซึ่งขึ้นอยู่กับถิ่นที่อยู่ในสหราชอาณาจักรที่บุคคลนั้นอาศัยอยู่

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร (ตอนที่ ๒)

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act: RCRA) ของสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act: RCRA) ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นกฎหมายฉบับแรกที่วางหลักการในการจัดการของเสีย ทั้งของเสียทั่วไป และขยะอันตราย โดยใช้หลักการ cradle-to-grave waste management เพื่อติดตามขยะอันตรายอย่างครบวงจร

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act: RCRA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / 
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายว่าด้วยการตายด้วยความสมัครใจ (Voluntary Assisted Dying Act) ของเครือรัฐออสเตรเลีย

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการตายด้วยความสมัครใจของเครือรัฐออสเตรเลีย ซึ่งเป็นกฎหมายที่รองรับความชอบธรรมในการฆ่าตัวตายสำหรับผู้ที่ทุกข์ทรมานและกำลังจะตายในการที่จะเลือกลักษณะและเวลาของการตายได้ แต่ทั้งนี้ก็มีมาตรการป้องกันที่ครอบคลุมและการคุ้มครองที่เข้มงวดในการคัดกรองบุคคลที่จะสามารถได้รับความช่วยเหลือให้สามารถตายด้วยความสมัครใจได้

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการตายด้วยความสมัครใจ (Voluntary Assisted Dying Act) ของเครือรัฐออสเตรเลีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย the Child Support (Enforcement) ของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์

กฎหมาย The Child Support Act 1991 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎหมาย the Child Maintenance and Other Payments Act 2008 มีบทบัญญัติใหม่ที่อนุญาตให้ secretary of state จัดทำคำสั่ง liability order โดยไม่ต้องยื่นคำร้องขอต่อศาลก่อนในลำดับแรก สำหรับร่างกฎหมายฉบับนี้แก้ไขเพิ่มเติมส่วนสำคัญโดยให้ secretary of state สามารถจัดทำคำสั่งที่เป็น liability order และมีการสร้างบทกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบของ liability order และกำหนดข้อบังคับ (regulations) ที่มีบทกฎหมายเรื่องอุทธรณ์ (appeal) ผู้สนับสนุนร่างกฎหมายฉบับนี้อ้างเหตุผลว่า จะทำให้มีการนำมาตรการบังคับใช้ตามกฎหมาย (enforcement) มาใช้อย่างรวดเร็วมากขึ้นแก่ผู้ปกครองที่ไม่ได้จ่ายเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย the Child Support (Enforcement) ของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย Worker Protection (Amendment of Equality Act 2010) ของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์

จุดประสงค์ของร่างกฎหมายนี้ คือ การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย the Equality Act 2010 เพื่อทำให้นายจ้างมีความรับผิดตามกฎหมายสำหรับการล่วงละเมิด (Harassment) ของลูกจ้างโดยบุคคลที่สาม (เช่น ลูกค้าหรือผู้รับบริการ) เป็นการเสนอหน้าที่โดยเฉพาะเจาะจงแก่นายจ้างเพื่อดำเนินการตามขั้นตอน ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ (sexual harassment) ต่อลูกจ้างของตน โดยร่างกฎหมายดังกล่าวได้มีการตราบทบัญญัติเพื่อยกระดับเรื่องค่าสินไหมทดแทน (compensation) ในหลายคดีที่มีการฝ่าฝืนจากนายจ้างที่ต้องกระทำการตามหน้าที่

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Worker Protection (Amendment of Equality Act 2010) ของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายว่าด้วยการสื่อสารที่เหมาะสมของสหรัฐอเมริกา (Communications Decency Act: CDA)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการสื่อสารที่เหมาะสมของสหรัฐอเมริกา (Communications Decency Act: CDA) ซึ่งกำหนดให้มีการปกป้องผู้ที่ช่วยป้องกันและคัดกรองเนื้อหาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยให้ความคุ้มครองแก่ผู้ให้บริการที่ไม่ได้เป็นผู้เผยแพร่หรือไม่ได้เป็นเจ้าของเนื้อหาให้ไม่ต้องรับผิดชอบในทางแพ่งต่อการกระทำด้วยวิธีใด ๆ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการสื่อสารที่เหมาะสมของสหรัฐอเมริกา (Communications Decency Act CDA)

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


ร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนของสิงคโปร์ (The Children and Young Persons Act: CYPA)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนของสิงคโปร์ (The Children and Young Persons Act: CYPA) ซึ่งอนุญาตให้กระทรวงพัฒนาสังคมและสถาบันครอบครัว (Ministry of Social and Family Development: MSF) ของสิงคโปร์สามารถเข้าแทรกแซงเพื่อให้การคุ้มครองดูแลและช่วยเหลือที่จำเป็นต่อเด็กอายุต่ำกว่า ๑๖ ปีที่ถูกทารุณกรรมหรือถูกทอดทิ้ง ซึ่งร่างกฎหมาย CYPA พยายามที่จะขยายขอบเขตการคุ้มครองดังกล่าวไปยังเด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ ปีด้วย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนของสิงคโปร์ (The Children and Young Persons Act CYPA)

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


นโยบายการปกป้องคุ้มครองของโรงเรียนในอังกฤษ (safeguarding in English schools)

โรงเรียนมีส่วนสำคัญในการปกป้องคุ้มครองเด็ก ๆ ในโรงเรียนในอังกฤษ ภายใต้กฎหมาย the Education Act 2002 โรงเรียนประเภท maintained schoolมีหน้าที่ทำการคุ้มครอง และสนับสนุนสวัสดิภาพของเด็กนักเรียน ข้อกำหนดที่มีความคล้ายกันได้มีการปรับใช้ในโรงเรียนประเภท independent school (ซึ่งรวมถึง academies และ free schools) โดยมาตรฐานตามกฎระเบียบของ independent school ทางกระทรวงศึกษาธิการ (Department for Education) ได้เผยแพร่คู่มือปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งทำให้เด็ก ๆ ได้รับความปลอดภัยในการศึกษา โดยจากข้อมูลได้กำหนดสิ่งที่จะทำให้โรงเรียนต้องปฏิบัติตามความรับผิดชอบในการคุ้มครองเด็ก

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ นโยบายการปกป้องคุ้มครองของโรงเรียนในอังกฤษ

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


ร่างกฎหมาย Illegal Migration ของสหราชอาณาจักร

ในวันที่ ๗ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๓ ได้มีการพิจารณาร่างกฎหมาย  Illegal Migration  ในชั้นของสภาผู้แทนราษฎร (House of Common) ของสหราชอาณาจักร และได้พิจารณาวาระที่สอง  ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๓ โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันและยับยั้งการย้ายถิ่นฐานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งมุ่งเน้นเรื่องการย้ายถิ่นฐานที่ใช้เส้นทางไม่ปลอดภัย และไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยกำหนดให้มีการย้ายถิ่นฐานออกจากสหราชอาณาจักรสำหรับบุคคลที่เข้ามาในสหราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนการควบคุมคนเข้าเมือง

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Illegal Migration ของสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


ร่างกฎหมาย Animals (Low-Welfare Activities Abroad) ของอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ

ร่างกฎหมายนี้บัญญัติห้ามการขายและการเสนอการขาย ตลอดจนการโฆษณากิจกรรมเกี่ยวกับสัตว์ที่มีสวัสดิภาพในระดับต่ำที่จัดขึ้นในต่างประเทศ โดยห้ามกระทำการในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือซึ่งกิจกรรมต้องห้ามเหล่านี้ครอบคลุมถึงคำจำกัดความที่กำหนดโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสหราชอาณาจักรแต่ละแห่งซึ่งระบุไว้ในกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และครอบคลุมถึงการกระทำที่ถือเป็นความผิดภายใต้กฎหมาย the Animal Welfare Act 2006 ในอังกฤษและเวลส์ กับกฎหมาย Welfare of Animals Act (Northern Ireland) 2011

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Animals (Low-Welfare Activities Abroad) ของอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ

 

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายว่าด้วยการเคลื่อนย้ายและความรับผิดชอบในการประกันสุขภาพ

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการเคลื่อนย้ายและความรับผิดชอบในการประกันสุขภาพ (Health Insurance Portability and Accountability Act : HIPAA) ซึ่งเป็นกฎหมายของรัฐบาลกลางที่กำหนดให้ต้องมีการสร้างมาตรฐานระดับสากลเพื่อปกป้องคุ้มครองข้อมูลด้านสุขภาพที่ละเอียดอ่อนของผู้ป่วยจากการถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการเคลื่อนย้ายและความรับผิดชอบในการประกันสุขภาพ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในสหราชอาณาจักร (The Abortion Act 1967)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในสหราชอาณาจักร (The Abortion Act 1967) ซึ่งอนุญาตให้หญิงสามารถทำแท้งได้ภายใต้เงื่อนไขบางประการ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวถือเป็นเป็นก้าวสำคัญสำหรับสิทธิเสรีภาพของสตรีในสหราชอาณาจักร

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในสหราชอาณาจักร (The Abortion Act 1967)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย Procurement ของสหราชอาณาจักร

กฎระเบียบในเรื่องของ “procurement” ซึ่งตามความหมาย คือ “การจัดซื้อจัดจ้าง” ได้ถูกนำมาใช้ในการกำกับดูแลหน่วยงานของรัฐ (public authority) ในการจัดหาสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ และบริการ รวมถึงงานด้านสาธารณะต่าง ๆ จากภาคเอกชน รัฐบาลสหราชอาณาจักรได้มีการปฏิรูปกฎหมายภายในซึ่งได้ถูกออกแบบให้สอดคล้องกับกฎหมายสหภาพยุโรป ถือเป็นโอกาสที่ดีขึ้นในการกำหนดกรอบแผนในการดำเนินการเพื่อการจัดซื้อจัดจ้าง โดยมีความเชื่อว่าในการปฏิรูปกฎหมายจะทำให้การจัดซื้อจัดจ้าง มีความง่าย รวดเร็ว มีความโปร่งใสมากขึ้น และลดความล่าช้าของระบบราชการ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่  ร่างกฎหมาย Procurement ของสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


Safe standing ของสนามฟุตบอลในอังกฤษและเวลส์

จากการพัฒนาด้านการออกแบบสนามฟุตบอลในช่วงที่ผ่านมา ในส่วนที่เป็นอัฒจันทร์ของผู้ชม และความสำเร็จในมาตรการ safe standing ของประเทศในยุโรปชาติอื่น ๆ นำไปสู่การเรียกร้องในการเริ่มต้นพิจารณาให้มีบริเวณอัฒจันทร์ที่เป็น safe standing ของพรีเมียร์ลีกและแชมเปี้ยนชิพ จากประกาศแถลงการณ์ของพรรคอนุรักษ์นิยมใน ปี ค.ศ. ๒๐๑๙รวมถึงข้อตกลงที่จะทำงานร่วมกับแฟนบอลและสโมสรเรื่องการพิจารณาจัดให้มี safe standing

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Safe standing ของสนามฟุตบอลในอังกฤษและเวลส์


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย

 


กฎหมายปฏิรูปสถานประกอบการดูแลผู้สูงอายุ (The Nursing Home Reform Act) ในประเทศสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายปฏิรูปสถานประกอบการดูแลผู้สูงอายุซึ่งกำหนดสิทธิของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานดูแลผู้สูงอายุไว้หลายประการ เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการดูแลที่เหมาะสมทั้งในด้านบริการทางการแพทย์ ด้านสิทธิความเป็นส่วนตัว หรือด้านปัจเจกบุคคล ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นว่าผู้สูงอายุทุกคนจะได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสมและปราศจากการถูกละเมิดสิทธิหรือการละเลย

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายปฏิรูปสถานประกอบการดูแลผู้สูงอายุ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคาร (Building Safety Act 2022) แห่งสหราชอาณาจักร

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคาร (Building Safety Act 2022) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปกฎเกณฑ์ข้อบังคับตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาคาร ซึ่งกฎหมายนี้มีการรวบรวมและนำหลักเกณฑ์ มาตรการ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ รวมถึงพระราชบัญญัติความปลอดภัยด้านอัคคีภัย (Fire Safety Act 2021) เข้ามาปรับปรุงพัฒนาให้กฎหมายมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น กฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคารจะทำให้ประชาชนรู้สึกมั่นใจถึงความปลอดภัยในการอยู่อาศัยและปรับเปลี่ยนแนวทางในการออกแบบ การก่อสร้าง และการควบคุมดูแลอาคารให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
 
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคาร (Building Safety Act 2022) แห่งสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายโครงสร้างพื้นฐานของสหรัฐอเมริกา

สภาคองเกรสได้ผ่านกฎหมายโครงสร้างพื้นฐาน (Bipartisan infrastructure law: BIL) หรือ Infrastructure Investment and Jobs Act ในเดือนพฤจิกายน ค.ศ. ๒๐๒๑ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ และกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจในอดีตที่ผ่านมานั้นได้มีการกำหนดนโยบายที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแต่ยังไม่ได้มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ต่อมาโจ ไบเดน ประธานาธิบดี สหรัฐอเมริกาได้ตกลงที่จะดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อที่จะดำเนินการตามแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานนั้นจึงได้มีการเจรจาข้อตกลงกับสมาชิกสภาคองเกรสจากพรรคการเมืองทั้งสองฝ่าย โดยกฎหมายฉบับนี้มีการลงนามโดยประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และออกบังคับใช้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Bipartisan infrastructure law ของสหรัฐอเมริกา

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย



 

 


กฎหมายว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการดิจิทัลของสหราชอาณาจักร (Digital Services Act)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการดิจิทัล (Digital Services Act) หรือ DSA ซึ่งเป็นกฎหมายใหม่ที่จะเข้ามาควบคุมแพลตฟอร์มออนไลน์หลัก ๆ ที่ได้รับความนิยมจากผู้ใช้งาน เช่น Facebook Youtube Tiktok Twitter และแพลตฟอร์มดิจิทัลอื่น ๆ เพื่อจัดการกับเนื้อหาที่มีการเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มโดยผิดกฎหมายและก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสังคมในด้านต่าง ๆ จากการให้บริการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลเหล่านี้
 
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการดิจิทัลของสหราชอาณาจักร (Digital Services Act)

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


สิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนักโทษในสหราชอาณาจักร

บทความฉบับนี้มุ่งอธิบายในเรื่องการตีความทางกฎหมายจากคำพิพากษาของศาล ECtHR และการอภิปรายของรัฐสภาเกี่ยวกับสิทธิของนักโทษในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง รวมถึงกฎหมายที่กำหนดให้นักโทษบางกลุ่มได้รับสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งท้องถิ่นของสกอตแลนด์

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ สิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนักโทษในสหราชอาณาจักร


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับ revenge pornography ของอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์

คำว่า “Revenge” แปลเป็นภาษาไทยว่า การแก้แค้น ส่วนคำว่า “Porn” แปลว่า ลามก โป๊ เมื่อนำทั้งสองคำมารวมกันแล้ว คือ การแก้แค้นผู้อื่นโดยใช้สื่อลามกอนาจารถือเป็นการกระทำที่เข้าข่ายเป็นอาชญากรรมตามกฎหมายของต่างประเทศ คำว่า Revenge Porn ใน Black’s Law Dictionary ให้ความหมายไว้ว่า ภาพถ่ายที่ได้สื่อให้เห็นเกี่ยวกับทางเพศ หรือวีดีโอของคนอื่นที่ได้มาโดยไม่มีความยินยอมจากเหยื่อ เพื่อเป็นการล้างแค้นคนรักเก่าที่ได้เลิกรากัน หรือเป็นการขู่กรรโชกเหยื่อ เป็นต้น

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับ revenge pornography ของอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์



*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดการแนวกันชนสีเขียว (Green Belt (Protection) Private Members Bill) ของสหราชอาณาจักร

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดการแนวกันชนสีเขียวฉบับใหม่ของสหราชอาณาจักร เนื่องจากกฎหมายฉบับเดิมมีการบังคับใช้มากว่า ๗๐ ปีและไม่เคยได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบททางเศรษฐกิจและสังคมของสหราชอาณาจักรในปัจจุบัน คาดว่าการปฏิรูปกฎหมายดังกล่าวจะช่วยแก้ปัญหาราคาที่อยู่อาศัยในเมืองใหญ่หลายแห่งที่พุ่งสูงจนสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดการแนวกันชนสีเขียว (Green Belt (Protection) Private Members Bill) ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


พิมพ์เขียวสำหรับร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิของปัญญาประดิษฐ์ (AI Bill of Rights) ในประเทศสหรัฐอเมริกา

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพิมพ์เขียวสำหรับร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิของปัญญาประดิษฐ์ (AI Bill of Rights) ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและขับเคลื่อนปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence) และระบบกลไกอัตโนมัติอื่น ๆ เพื่อการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในสหรัฐฯ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่
 พิมพ์เขียวสำหรับร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิของปัญญาประดิษฐ์ (AI Bill of Rights) ในประเทศสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย Animal Welfare (Kept Animals) ของบริเตนใหญ่

ร่างกฎหมาย Animal Welfare (Kept Animals) 2021-2022 เป็นร่างกฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์ที่อยู่ในประเทศ หรือถูกนำเข้ามาใน หรือส่งออกไปนอกบริเตนใหญ่ ซึ่งได้เริ่มพิจารณาในชั้นของสภาผู้แทนราษฏร (the House of Commons) เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ค.ศ. ๒๐๒๑ พิจารณาในวาระที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ค.ศ. ๒๐๒๑ พิจารณาโดยคณะกรรมาธิการ (committee stage) ในระหว่างวันที่ ๙ ถึง ๑๘ พฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๒๑ และอยู่ในขั้นตอนของการรายงาน (report stage) เพื่อบรรจุเข้าสู่สมัยประชุมของรัฐสภาในปี ค.ศ. ๒๐๒๒-๒๐๒๓ (session 2022-23) โดยร่างกฎหมายฉบับนี้มีเจตนารมณ์เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามคำแถลงการณ์ของพรรคอนุรักษ์นิยมในปี ค.ศ. ๒๐๑๙ 

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่  ร่างกฎหมาย Animal Welfare (Kept Animals) ของบริเตนใหญ่

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


Fire and rehire tactics ของสหราชอาณาจักร

ในทางปฏิบัตินั้น “fire and rehire” หรือเรียกอีกอย่างว่า “dismissal and re-engagement”เกิดขึ้นเมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้าง ซึ่งได้มีการเสนอแก่ลูกจ้างที่จะกลับมาจ้างงานใหม่อีกครั้งในเงื่อนไขข้อตกลงใหม่ โดยภายใต้ข้อตกลงใหม่นั้นก็มักจะเป็นการให้ประโยชน์แก่นายจ้างมากกว่าลูกจ้าง เทคนิคนี้มักมีการนำมาใช้ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงต่าง ๆ ภายใต้สัญญาฉบับเดิมได้ ในการที่นายจ้างทำการเลิกจ้าง และกลับมาทำสัญญาจ้างใหม่อีกครั้งไม่ถือว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายแต่อย่างใด

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Fire and rehire tactics ของสหราชอาณาจักร


*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย National Security ของสหราชอาณาจักร

ร่างกฎหมาย National Security ได้รวบรวมมาตรการใหม่ที่สำคัญเพื่อปกป้องความมั่นคงของสหราชอาณาจักรซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ได้มีการมาแทนที่และปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับที่ล้าสมัย โดยมีการสร้างมาตรการในการบังคับใช้เพื่อให้อำนาจแก่หน่วยงานของรัฐที่บังคับใช้กฎหมายสามารถยับยั้ง,ตรวจสอบภัยคุกคามจากประเทศที่เป็นศัตรูซึ่งพยายามจารกรรมข้อมูลเพื่อประโยชน์ทางการค้า หรือทำการแทรกแซงโดยการส่งสายลับเข้ามาในสหราชอาณาจักรอย่างลับ ๆ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ 
 ร่างกฎหมาย National Security ของสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


Clean air zone framework ของอังกฤษ

CAZ เป็นหนึ่งในมาตรการในอังกฤษที่มีการนำมาบังคับใช้จริงในหลายเมืองของอังกฤษเช่น Bradford, Bristol และ Newcastle ซึ่งแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานท้องถิ่นต้องดำเนินการจัดให้มี CAZ ภายใต้ NO2 plan โดย CAZ ได้กำหนดบริเวณสถานที่ ๆ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพอากาศ และทรัพยากรเพื่อประโยชน์ในการที่จะจัดลำดับความสำคัญรวมถึงการประสานงานในเมืองเพื่อส่งผลให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ รวมถึงสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ 
 Clean air zone framework ของอังกฤษ

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายว่าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักเกณฑ์แนวปฏิบัติและจรรยาบรรณสื่อสังคม) ค.ศ. ๒๐๒๑ (Information Technology (Intermediary Guidelines and Digital Media Ethics Code) Rules, 2021) ในประเทศอินเดีย

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักเกณฑ์แนวปฏิบัติและจรรยาบรรณสื่อสังคม) ปี ค.ศ. ๒๐๒๑ ( (Information Technology (Intermediary Guidelines and Digital Media Ethics Code) Rules, 2021) ของประเทศอินเดีย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการกำกับดูแลแพลตฟอร์มสื่อสังคมและป้องกันการใช้สื่อสังคมในทางที่ผิด
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักเกณฑ์แนวปฏิบัติและจรรยาบรรณสื่อสังคม) ค.ศ. ๒๐๒๑ (Information Technology (Intermediary Guidelines and Digital Media Ethics Code) Rules, 2021) ในประเทศอินเดีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


นโยบายในการกำจัดขยะพลาสติกเพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศทางทะเล ในกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา (Latin America)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงนโยบายต่าง ๆ ของประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกาในการจัดการขยะพลาสติกเพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศทางทะเล เนื่องจากปริมาณขยะพลาสติกหลายล้านตันที่ถูกทิ้งลงมหาสมุทรทุกปีก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล
 
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ นโยบายในการกำจัดขยะพลาสติกเพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศทางทะเล ในกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา (Latin America)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


มาตรการทางกฎหมายของประเทศสิงคโปร์ ว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการ “การแพทย์ทางไกล” (Telemedicine)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงมาตรการทางกฎหมายของประเทศสิงคโปร์ในการกำกับดูแลการให้บริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยในการจัดการปัญหาการเข้ารับบริการด้านสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ที่เริ่มได้รับความนิยมตั้งแต่ช่วงการแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ จนถึงปัจจุบัน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการทางกฎหมายของประเทศสิงคโปร์ ว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการ “การแพทย์ทางไกล” (Telemedicine)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


อายุของบุคคลกับความรับผิดทางอาญาของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์

ความรับผิดทางอาญา (criminal responsibility) ถ้ามองในแง่ของความหมายจะเกี่ยวข้องกับการกำหนดว่าบุคคลจะมีความสามารถที่จะรับผิดชอบต่อการกระทำของตนและรับโทษในทางอาญาได้หรือไม่ โดยศาลจะพิจารณาลงโทษผู้กระทำความผิดให้เหมาะสมกับการกระทำนั้น ในเรื่องอายุของบุคคลกับความรับผิดทางอาญา (the age of criminal responsibility: ACR) กฎหมายกำหนดให้บุคคลต้องรับโทษในทางอาญา เมื่อมีหลักฐานเพียงพอว่าบุคคลนั้นมีความสามารถที่จะรับผิดชอบต่อการกระทำที่ได้กระทำลงไปตามกฎหมายอาญา

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ 
 อายุของบุคคลกับความรับผิดทางอาญาของอังกฤษ เวลส์ เเละสกอตเเลนด์

* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ประกาศปรับปรุงหลักเกณฑ์ใหม่สำหรับผลิตภัณฑ์ที่จัดเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Foods)

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎระเบียบใหม่ขององค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ในการปรับปรุงคำจำกัดความของคำว่า “อาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Foods)” ที่ติดบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร โดยมีการกำหนดเงื่อนไขในการกล่าวอ้างการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ว่าจะต้องผ่านการพิจารณาปริมาณของสารอาหารแต่ละชนิดในผลิตภัณฑ์นั้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ประกาศปรับปรุงหลักเกณฑ์ใหม่สำหรับผลิตภัณฑ์ที่จัดเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Foods)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและนโยบายจัดเก็บภาษีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการปศุสัตว์ของประเทศนิวซีแลนด์

บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศนิวซีแลนด์อันก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆ ตามมา ซึ่งทำให้รัฐบาลนิวซีแลนด์มีการเสนอแผนการจัดเก็บภาษีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการปศุสัตว์ในประเทศนิวซีแลนด์เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและนโยบายจัดเก็บภาษีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการปศุสัตว์ของประเทศนิวซีแลนด์

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
 


กฎเกณฑ์ข้อบังคับขององค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ว่าด้วยเรื่องการควบคุมการผลิต การโฆษณา และการจำหน่ายกัญชาและผลิตภัณฑ์จากกัญชาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

บทความฉบับนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎเกณฑ์ข้อบังคับขององค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา ที่มุ่งเน้นถึงการควบคุมผลิตภัณฑ์จากกัญชาและผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกัญชา และนำเสนอถึงผลกระทบต่างๆ จากนโยบายกัญชาถูกกฎหมายในสหรัฐอเมริกาอันเป็นที่มาของกฎเกณฑ์ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎเกณฑ์ข้อบังคับขององค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ว่าด้วยเรื่องการควบคุมการผลิต การโฆษณา และการจำหน่ายกัญชาและผลิตภัณฑ์จากกัญชาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ข้อเสนอแนะในการกำกับดูแลผู้ให้บริการแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อป้องกันการคุกคามทางเพศ จากศูนย์ต่อต้านความเกลียดชังทางดิจิทัลของต่างประเทศ (Center for Countering Digital Hate)

บทความนี้ ขอนำเสนอข้อเสนอแนะของหน่วยงานของต่างประเทศในการกำกับดูแลผู้ให้บริการแพลตฟอร์มออนไลน์ในเรื่องการป้องกันการคุกคามทางเพศที่ก่อให้เกิดผลที่ไม่พึงปรารถนาต่อผู้ใช้งานออนไลน์และเกิดผลร้ายต่อภาพรวมของสังคม
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> ข้อเสนอแนะในการกำกับดูแลผู้ให้บริการแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อป้องกันการคุกคามทางเพศ จากศูนย์ต่อต้านความเกลียดชังทางดิจิทัล (Center for Countering Digital Hate)


* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


กฎหมายป้องกันอาชญากรรมทางเศรษฐกิจฉบับใหม่ของสหราชอาณาจักร Economic Crime (Transparency and Enforcement) Act 2022

กฎหมาย Economic Crime (Transparency and Enforcement) Act 2022 ของสหราชอาณาจักรมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ ๑๕ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๒ ผ่านการพิจารณาเป็นวาระเร่งด่วนหลังเกิดการรุกรานประเทศยูเครนโดยประเทศรัสเซีย กฎหมายมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผู้มีความร่ำรวยผิดปกติและก่ออาชญากรรมทางเศรษฐกิจ


Global Cross-Border Privacy Rules Declaration ภายใต้กรอบ APEC

เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๖๕ เขตเศรษฐกิจของกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชียแปซิฟิก (APEC) ๗ แห่ง ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ร่วมกันประกาศปฏิญญาร่วม ชื่อว่า "Global Cross-Border Privacy Rules Declaration" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอุปสรรคด้านกฎระเบียบของแต่ละเขตเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกัน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> Global Cross-Border Privacy Rules Declaration ภายใต้กรอบ APEC


* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


มาตรการใหม่สำหรับการคุ้มครองผู้บริโภคของประเทศสหราชอาณาจักร

รัฐบาลสหราชอาณาจักรประกาศปฏิรูปกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคว่าจะได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพตรงตามความเป็นจริงโดยไม่ถูกหลอกลวงจากร้านค้า และเพื่อกระตุ้นการแข่งขันภายในประเทศจึงได้แก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้อำนาจแก่หน่วยงานกำกับดูแลการแข่งขัน (Competition and Markets Authority CMA) กำกับดูแลบริษัทในตลาดได้โดยตรงโดยไม่ผ่านกระบวนการทางศาล การปฏิรูปกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและการแข่งขันสะท้อนถึงความมุ่งมั่นในการสร้างมาตรฐานการคุ้มครองผู้บริโภคอย่างเป็นเอกเทศภายหลังถอนตัวออกจากสมาชิกสหภาพยุโรป ทั้งยังเป็นผลมาจากการวิกฤตการระบาดของไวรัสโควิด - ๑๙ ที่ทำให้แนวโน้มการทำธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพิ่มสูงขึ้น การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคและการแข่งขันให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ดังกล่าวจึงเป็นประโยชน์กับทั้งผู้บริโภคและภาคธุรกิจ


คำสั่งทางบริหารของประธานาธิบดี (Executive Order) เรื่องการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลของสหรัฐอเมริกา

เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๖๕ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาได้ลงนามในคำสั่งทางบริหารของประธานาธิบดี (Executive Order) เรื่องการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างมีความรับผิดชอบ (Ensuring Responsible Development of Digital Assets) โดยมีสาระสำคัญเป็นการกำหนดกรอบดำเนินงานด้านการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลของประเทศ และประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องที่สหรัฐฯ ให้ความสำคัญ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> คำสั่งทางบริหารของประธานาธิบดี (Executive Order) เรื่องการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลของสหรัฐอเมริกา


* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย Public Service Act เรื่องการถือครองกิจการของชาวต่างชาติของประเทศฟิลิปปินส์

ประเทศฟิลิปปินส์มีความตื่นตัวในการผลักดันกิจกรรมด้านการค้าและการลงทุนภายในประเทศมาอย่างต่อเนื่อง ดังปรากฎความเคลื่อนไหวล่าสุดเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้มีการประกาศใช้กฎหมาย Republic Act 11659 ซึ่งเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย Public Service Act โดยมีสาระสำคัญเกี่ยวข้องกับการผ่อนคลายข้อจำกัดด้านการถือครองกิจการภายในประเทศของชาวต่างชาติ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย Public Service Act เรื่องการถือครองกิจการของชาวต่างชาติของประเทศฟิลิปปินส์


 ​* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


ร่างกฎหมาย Online Safety ของสหราชอาณาจักร

สหราชอาณาจักรเสนอร่างกฎหมาย Online Safety เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยในโลกออนไลน์โดยมุ่งขจัดเนื้อหาที่ถือเป็นอาชญากรรมออนไลน์  และกำหนดหน้าที่ให้กับบริษัทผู้ให้บริการทำการลบเนื้อหาที่ถือเป็นความผิดสำคัญตามกฎหมายออกจากแพลตฟอร์ม โดยที่แต่เดิมบริษัทผู้ให้บริการมีหน้าที่ลบเนื้อหาเมื่อได้การรายงานจากผู้ใช้งานเท่านั้น แต่เมื่อกฎหมายดังกล่าวมีผลใช้บังคับบริษัทมีหน้าที่ดำเนินการโดยทันทีเพื่อป้องกันมิให้เนื้อหาดังกล่าวเผยแพร่ออกไป... เข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่  ร่างกฎหมาย Online Safety ของสหราชอาณาจักร.pdf


กฎหมายว่าด้วยข้อมูลของสหภาพยุโรป (Data Act)

ภายหลังจากที่มีการประกาศยุทธศาสตร์ข้อมูลของสหภาพยุโรป (European strategy for data)ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๒๐๒๐ คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปได้เสนอกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว โดยเสนอกฎหมาย Data Governance Act และได้รับความเห็นชอบเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๒๑ กำหนดกระบวนการและโครงสร้างเพื่ออำนวยความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูลโดยบริษัทเอกชน บุคคล และภาครัฐ ต่อมาจึงได้มีการเสนอกฎหมาย Data Act ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๒๐๒๒ เพื่อกำหนดบุคคลที่สามารถสร้างมูลค่าของข้อมูลให้มีความชัดเจนภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย  ทั้งนี้ การประกาศใช้ยุทธศาสตร์และการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวมีเจตนารมณ์เพื่อยกระดับศักยภาพทางการจัดการข้อมูลของสหภาพยุโรป ทำให้ข้อมูลสามารถไหลเวียนในภูมิภาคและข้ามภาคส่วนได้อย่างอิสระเพื่อประโยชน์ของภาคธุรกิจ นักวิจัย การบริหารราชการ และสังคมโดยรวม เข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่... กฎหมายว่าด้วยข้อมูลของสหภาพยุโรป (Data Act).pdf


อุตสาหกรรมแฟชั่น สิ่งแวดล้อม และสังคม กรณีตัวอย่างร่างกฎหมายว่าด้วยความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคมของอุตสาหกรรมแฟชั่น ของรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา (ตอนที่ ๑)

บทความนี้มีเนื้อหาเชิญชวนให้ทุกท่านตระหนักถึงกระแสของ Fast Fashion ที่มีองค์ประกอบของการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในห่วงโซ่อุปทานการผลิตที่หลากหลายและซับซ้อน ซึ่งนำมาสู่ความท้าทายในมิติของการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน  และประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน โดยจะนำเสนอเป็นตอนที่ ๑ และจะยกตัวอย่างกรณีร่างกฎหมายของรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการกำกับดูแลอุตสาหกรรมแฟชั่นโดยตรง ดังมีรายละเอียดที่จะนำเสนอเป็นตอนที่ ๒ ต่อไป 
ผู้สนใจบทความฉบับเต็ม ตอนที่ ๑ สามารถเข้าถึงได้ที่นี่ >>> Fast Fashion 1


(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


อุตสาหกรรมแฟชั่น สิ่งแวดล้อม และสังคม กรณีตัวอย่างร่างกฎหมายว่าด้วยความยั่งยืนและความรับผิดชอบต่อสังคมของอุตสาหกรรมแฟชั่นของรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา (ตอนที่ ๒)

ในตอนที่ ๑ ผู้เขียนได้กล่าวถึงความท้าทายของกระแส Fast Fashion ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมแล้ว ตอนที่ ๒ นี้ ขอนำเสนอร่างกฎหมายที่น่าสนใจของรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นกรณีตัวอย่างของกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการกำกับดูแลและกำหนดกฎระเบียบด้านความยั่งยืนสำหรับอุตสาหกรรมแฟชั่นโดยตรง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> Fast Fashion 2

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


หนังสือรับรองสุขภาพ (Health Pass): มาตรการทางกฎหมายของฝรั่งเศสในการยับยั้งการระบาดระลอกใหม่ในประเทศ

หนังสือรับรองสุขภาพ (Health Pass) เป็นส่วนหนึ่งของแผนการเปิดประเทศของฝรั่งเศสมีวัตถุประสงค์เพื่อสกัดกั้นการแพร่ระบาดและลดความเสี่ยงของการระบาดจากการรวมกลุ่มในสถานที่หรือกิจกรรมต่าง ๆ รวมถึงลดปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบสาธารณสุขอันเนื่องมาจากการเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องของจำนวนผู้ติดเชื้อใหม่รายวัน...


สิทธิการลางานเพื่อเข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสโควิด – ๑๙ ของรัฐนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา

นิวยอร์กเป็นมลรัฐที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด - ๑๙ สูงเป็นอันดับ ๔ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนับตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๐ นายแอนดรูว์ คูโอโม (Andrew Cuomo) ผู้ว่าการมลรัฐได้ดำเนินมาตรการลดผลกระทบของการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นภายในรัฐด้วยมาตรการที่หลากหลาย เช่น มาตรการเยียวยาทางการเงินด้านที่พักอาศัยเพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบ โดยจะผ่อนปรนการชำระหนี้สำหรับที่พักอาศัยและงดการรายงานข้อมูลไปที่ศูนย์ข้อมูลเครดิต รวมถึงลดค่าธรรมเนียมการชำระหนี้ล่าช้า และสำหรับมาตรการทางกฎหมายได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับระยะเวลาพักการชำระหนี้ การขับไล่ออกจากอสังหาริมทรัพย์ และการบังคับคดี และแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายคุ้มครองธุรกิจขนาดเล็ก (Protect Our Small Business Act) ซึ่งเป็นการเสนอของวุฒิสภาเพื่อช่วยเหลือผู้เช่าและเจ้าของบ้านพักอาศัยในมลรัฐนิวยอร์กที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด - ๑๙


สิทธิในการซ่อม (Right to Repair) มาตรการสนับสนุนเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ของสหภาพยุโรป

สหภาพยุโรปเป็นกลุ่มประเทศที่มีบทบาทเป็นผู้นำในเรื่องการดำเนินการเพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เห็นได้จากการจัดทำนโยบายปฏิรูปสีเขียว แผนปฏิบัติการด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน และการจัดทำกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการติดฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม บทความนี้ ขอนำเสนอสาระที่น่าสนใจเกี่ยวกับ “สิทธิในการซ่อม” หรือ Right to Repair” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการที่สอดคล้องกับแผนการดำเนินงานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> สิทธิในการซ่อม (Right to Repair) ของสหภาพยุโรป

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


การแพร่ระบาดของ COVID - 19 กับการใช้พื้นที่สาธารณะและความเป็นเมือง

การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นปัญหาที่ท้าทายการดำเนินงานของหลายภาคส่วน และทำให้เห็นถึงความท้าทายที่เกี่ยวข้องกับความเป็นเมืองในหลาย ๆ ด้าน โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN-Habitat) ได้ให้ข้อเสนอแนะประเด็นการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะและเมืองของภาครัฐในการรับมือ การเตรียมความพร้อมกับการแพร่ระบาดที่อาจเกิดขึ้นในลักษณะเดียวกันที่สามารถนำมาปรับใช้กับสถานการณ์ปัจจุบันของประเทศไทยได้ โดยมีสาระสำคัญที่น่าสนใจดังที่กล่าวถึงในบทความนี้ >>> การแพร่ระบาดของ COVID - 19 กับการใช้พื้นที่สาธารณะและความเป็นเมือง

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


Why we need a Declaration of Global Digital Human Rights

เป็นเวลาหลายทศวรรษที่สิทธิมนุษยชนได้รับการคุ้มครองภายใต้กฎบัตรระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ขณะที่การเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันเป็นช่วงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่และเป็นยุคของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล  บทความนี้ ขอชวนทุกท่านคิดว่าถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประชาคมโลกจะต้องปรับปรุงกฎหมายที่สนับสนุนแนวคิดใหม่ ๆ ด้านสิทธิมนุษยชนที่สอดคล้องกับสังคมดิจิทัล ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญในการสร้างกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศที่ยุติธรรม ยืดหยุ่น สอดคล้อง และพัฒนาให้กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศมี Function ที่สามารถใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>  Why we need a Declaration of Global Digital Human Rights

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


กฎหมายว่าด้วยถิ่นที่อยู่ของข้อมูล (Data residency laws)

กฎหมายถิ่นที่อยู่ของข้อมูล หรือ “Data residency laws” เป็นคำที่ค่อนข้างใหม่ และถูกเรียกในชื่อที่หลากหลาย เช่น "Data Sovereignty" หรือ "Data Localization" และการใช้บังคับกฎหมายดังกล่าวอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคัญต่อประเด็นความเป็นส่วนตัว (privacy) ความมั่นคงปลอดภัยของรัฐ (national security) และในการดำเนินกิจกรรมทางการค้า (commerce) บทความนี้จึงขอนำเสนอข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยถิ่นที่อยู่ของข้อมูล (Data residency laws) โดยผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> กฎหมายว่าด้วยถิ่นที่อยู่ของข้อมูล (Data residency laws)

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


ภาพรวมกฎหมายว่าด้วยการทำแท้งของประเทศต่าง ๆ และกฎหมายของประเทศไทย

บทความฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอภาพรวมกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิในการทำแท้งโดยสรุปข้อมูลจากศูนย์สิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ (Center for Reproductive Rights) และการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการทำแท้งของประเทศไทย 


มาตรการทางกฎหมายของประเทศออสเตรเลียในการกำกับดูแลการดำเนินกิจกรรมอวกาศตามกฎหมายว่าด้วยอวกาศ (การปล่อยและการนำคืนวัตถุอวกาศ) ค.ศ. ๒๐๑๘ (Space (Launches and Returns) Act 2018)

สำหรับการส่งเสริมและกำกับดูแลอุตสาหกรรมอวกาศของประเทศออสเตรเลียแต่เดิมอยู่ภายใต้กฎหมายว่าด้วยกิจกรรมอวกาศ ค.ศ. ๑๙๙๘ (Space Activities Act 1998) ซึ่งมีการบังคับใช้มาตั้งแต่วันที่ ๒๑ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๙๘  ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปรับปรุงหลักเกณฑ์ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับอุตสาหกรรมอวกาศในประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนได้มีส่วนร่วมในอุตสาหกรรมดังกล่าวมากยิ่งขึ้น ในปี ค.ศ. ๒๐๑๘ จึงได้มีการประกาศใช้กฎหมายว่าด้วยอวกาศ (การปล่อยและการนำวัตถุอวกาศกลับมา) ค.ศ. ๒๐๑๘ (Space (Launches and Returns) Act 2018) เพื่อบังคับใช้แทนกฎหมายเดิม บทความฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอมาตรการทางกฎหมายของประเทศออสเตรเลียในการกำกับดูแลการดำเนินกิจกรรมด้านอวกาศภายใต้กฎหมายดังกล่าวเพื่อเป็นกรณีศึกษาในการพัฒนากฎหมายอวกาศต่อไป


มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ของเยาวชนในภาคการศึกษาของสหรัฐอเมริกา

การสื่อสารของสื่อใหม่หรือสื่อ Social Media ในปัจจุบัน เช่น Facebook Instagram YouTube มีลักษณะเป็นการสื่อสารสองทาง (Two-way communication) ซึ่งผู้บริโภคไม่เพียงแต่เป็นผู้รับสารหากแต่ยังสามารถมีส่วนร่วมในการผลิตเนื้อหา และความท้าทายที่สำคัญสำหรับบริบทดังกล่าวคือการบริโภคเนื้อหาที่อาจไม่ได้รับการกลั่นกรองอย่างถูกต้องเหมาะสม และโดยที่อายุของผู้รับสารเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงสื่อและการตอบสนองต่อสื่อ ปัจจุบันจึงเห็นภาคการศึกษาในหลายประเทศให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการเรียนการสอนเรื่องการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy)  บทความนี้จึงจะขอนำเสนอแนวทางการใช้มาตรการทางกฎหมายในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวในภาคการศึกษาของสหรัฐอเมริกา

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ของเยาวชนในภาคการศึกษาของสหรัฐอเมริกา


(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


เกณฑ์การพิจารณาเนื้อหาวิดีโอที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กของคณะกรรมการการค้าสหรัฐอเมริกา

การใช้สมาร์ทโฟนและโซเชียลมีเดียได้เปลี่ยนกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนจากการเล่นในสนามเด็กเล่นไปสู่การเข้าถึงกิจกรรมบนอินเตอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์ได้ทุกที่ทุกเวลา บทความนี้ ขอนำเสนอข่าวสารการพิจารณาเนื้อหาของวิดีโอที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กของคณะกรรมการการค้าของสหรัฐอเมริกา (Federal Trade Commission) ที่ได้กล่าวถึงกรณีเนื้อหาของวิดีโอที่มีลักษณะมุ่งตรงไปสู่เด็ก (child-directed) ไว้เป็นที่น่าสนใจ 
ผู้สนใจสามารถเช้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> เกณฑ์การพิจารณาเนื้อหาวิดีโอที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กของคณะกรรมการการค้าสหรัฐอเมริกา


(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดทำกฎหมายปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ของสหภาพยุโรป: หลักเกณฑ์และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการพัฒนาเทคโนโลยี AI ที่มีความเสี่ยงสูง (High-risk AI applications)

การดำเนินการเกี่ยวกับการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรปในช่วงที่ผ่านมา ให้ความสำคัญตั้งแต่ต้นทางของการผลิต ส่งเสริมการสร้างระบบนิเวศแห่งความไว้เนื้อเชื้อใจ (ecosystem of trust) เพื่อให้ได้มาซึ่งการเป็นปัญญาประดิษฐ์ที่มีความน่าเชื่อถือ (TRUSTWORTHY AI)  ต่อมา คณะกรรมาธิการยุโรปได้เผยแพร่เอกสาร “White Paper on Artificial Intelligence – A European Approach to Excellence and Trust” ซึ่งเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับการดำเนินการของสหภาพยุโรปด้านปัญญาประดิษฐ์ และปัญญาประดิษฐ์ที่มีความเสี่ยงสูง (High-risk AI applications) โดยได้เสนอแนวทางการกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาการเป็นเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่มีความเสี่ยงสูงดังที่จะกล่าวถึงในบทความนี้
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดทำกฎหมายปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ของสหภาพยุโรป

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


มาตรการทางกฎหมาย: กรณีรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติของสหรัฐอเมริกา

การปรับเปลี่ยนกฎหมายที่เกี่ยวกับรถยนต์และกฎจราจรเพื่อรองรับกับเทคโนโลยีรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติของประเทศสหรัฐอเมริกานั้น เป็นตัวอย่างของกรณีที่ภาครัฐในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลสวัสดิภาพในการเดินทางของประชาชน และภาคธุรกิจซึ่งเป็นผู้พัฒนาและขายเทคโนโลยีมีการให้ความร่วมมือระหว่างกัน อันทำให้ทั้งกฎหมายและเทคโนโลยีต่างเป็นปัจจัยในการพัฒนาซึ่งกันและกัน บทความนี้มุ่งนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับแนวความคิดในการปรับปรุงกฎหมายเพื่ออนุญาตให้ใช้รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ โดยพิจารณาในขอบเขตของประเทศสหรัฐอเมริกาทั้งในระดับรัฐบาลกลางและระดับมลรัฐ


ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ มาตรการทางกฎหมาย: กรณีรถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติของสหรัฐอเมริกา

(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


กฎหมาย Medical Tourism ของประเทศอิสราเอล

อิสราเอลเป็นประเทศที่มีบทบาทนำด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ การคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Life Science) และเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์  ธุรกิจ Medical Tourism ก็เป็นสาขาหนึ่งที่สามารถดึงดูดเงินทุนจากต่างประเทศ เพิ่มการจ้างงานและเป็นช่องทางการระดมทุนที่สำคัญสำหรับการบริหารจัดการระบบสาธารณสุขของประเทศ บทความนี้ จะขอกล่าวถึงสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาและผลกระทบจากธุรกิจ Medical Tourism ของประเทศอิสราเอล และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> กฎหมาย Medical Tourism ของประเทศอิสราเอล


(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)


ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ในการนำเข้าสุนัข แมว และเฟอเรท (Animal Welfare (Import of Dogs, Cats and Ferrets) ของสหราชอาณาจักร

ร่างกฎหมายฉบับนี้ได้รวมมาตรการที่อนุญาตให้สหราชอาณาจักร (อังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ) กำกับดูแลการเพิ่มอายุขั้นต่ำของสัตว์ที่เป็น สุนัข และแมวที่ถูกนำเข้าและห้ามการนำเข้าสุนัขและแมวที่ตั้งครรภ์เกินกว่า ๔๒ วัน หรือที่ถูกตัดอวัยวะ(Mutilation) เช่น  สุนัขที่ถูกตัดหู (ears cropped) และตัดหาง (tail docked) รวมถึงแมวที่ถูกถอดกรงเล็บ (declawing) เป็นต้น

ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ในการนำเข้าสุนัข แมว และเฟอเรท (Animal Welfare (Import of Dogs, Cats and Ferrets) ของสหราชอาณาจักร

*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย


 



    © 2017 Office of the Council of State.