หน้าแรก
เกี่ยวกับเรา
แนะนำอาเซียน
ข่าวต่างประเทศ
ความตกลง
APSC
AEC
ASCC
ASEAN PLUS
บทความ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรรมอาเซียน
บทความวิชาการ
งานวิจัย
กฎหมายน่ารู้
ติดต่อเรา
การให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนตามพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘: สถานะของคำสั่งและการอุทธรณ์คำสั่ง
บทความวิชาการ
13 Jul 2018
กองทุนยุติธรรมเป็
นนิติบุคคลที่จัดตั้งขึ้นตามมาตรา ๕ แห่
งพระราชบัญญัติกองทุน
ยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ มีวัตถุประสงค์
เพื่อเป็
นแหล!งเงินทุนสำหรับใช้
จ่
ายเกี่ยวกับการช!วยเหลือ
ประชาชนในการดำเนินคดี การขอปล่
อยชั่วคราวผู้
ต้
องหาหรือจำเลย การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน
และการให้
ความรู้
ทางกฎหมายแก่
ประชาชน โดยมีคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมซึ่งประกอบด้
วย
ตัวแทนจากภาครัฐและภาคประชาชน
มีอำนาจหน้
าที่กำหนดนโยบาย แผนงาน และแนวทาง
ในการดำเนินงานของกองทุน ตลอดจนแต่
งตั้ง “คณะอนุกรรมการให้
ความช่
วยเหลือ
” เพื่อให้
มี
อำนาจหน้
าที่พิจารณาให้
ความช่
วยเหลือแก่
ผู้
ยื่นคำขอในทุกภารกิจของกองทุนทั่วราชอาณาจักร
และ “คณะอนุกรรมการให้
ความช่
วยเหลือประจำ
จังหวัด
” เพื่อให้
มีอำ
นาจหน้
าที่พิจารณา
ให้
ความช่
วยเหลือแก่
ผู้
ยื่นคำขอจากกองทุน
เฉพาะกรณีการให้
ค่
าใช้
จ่
ายในการช่
วยเหลือประชาชน
ในการดำ
เนินคดีและการขอปล่
อยชั่วคราวผู้
ต้
องหาหรือจำ
เลย
ในการพิจารณาคำข
อ
รับความช่
วยเหลือของคณะอนุกรรมการให้
ความช่
วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการให้
ความช่
วยเหลือ
ประจำจังหวัดนั้น
อาจมีทั้งกรณีที่คณะอนุกรรมการฯ มีคำสั่งอนุมัติให้
ความช่
วยเหลือ
ไม่
อนุมัติ
ให้
ความช่
วยเหลือ
หรือยุติเรื่อง ซึ่งผลการพิจารณาคำขอรับความช่
วยเหลือเหล่
านี้กลับกลายเป็
นที่มา
ของ “ปั
ญหา” ในทางปฏิบัติอันเป็
นเหตุให้
กรมคุ้
มครองสิทธิและเสรีภาพได้
ขอหารือปั
ญหา
ข้
อกฎหมายเกี่ยวกับการอุทธรณ์
คำสั่งของคณะอนุกรรมการให้
ความช่
วยเหลือหรือคณะอนุกรรมการ
ให้
ความช่วยเหลือประจำจังหวัดมายังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ดาวน์โหลดบทความฉบับเต็ม:
การให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนตามพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘: สถานะของคำสั่งและการอุทธรณ์คำสั่ง.pdf
© 2017 Office of the Council of State.