บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงปัญหาสุขภาพจิตในที่ทำงานอันเกิดจากสาเหตุต่างๆจากสภาพแวดล้อมการทำงานจึงได้มีการทบทวนกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) และองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization: ILO) ได้มีแนวทางให้แก่รัฐบาลและนายจ้างเพื่อปรับปรุงโครงสร้างการทำงานภายในสถานที่ทำงานอันก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาทางสุขภาพจิตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ภาวะสุขภาพจิตในสถานที่ทำงานภายใต้กฎหมายต่างประเทศ ตอนที่ ๑
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการรับประกันบ้านเพื่อสุขภาพของประเทศนิวซีแลนด์ (Healthy Homes Guarantee Act 2017) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีของผู้เช่าและสุขภาพของผู้เช่า
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการรับประกันบ้านเพื่อสุขภาพของประเทศนิวซีแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการกำกับดูแลผู้ให้บริการ Streaming โดยร่างกฎหมายว่าด้วยการเผยแพร่ภาพและเสียงผ่านระบบออนไลน์ของประเทศแคนาดา (Online Streaming Act 2023) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อให้ทันต่อทันต่อพลวัตการเปลี่ยนแปลงของโลก เนื่องจากปัจจุบันการรับชมเนื้อหาของผู้ชมได้เปลี่ยนแปลงไปมากจากเดิมที่มีเพียงโทรทัศน์และวิทยุเป็นหลัก
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การกำกับดูแลผู้ให้บริการ Streaming โดยร่างกฎหมายว่าด้วยการเผยแพร่ภาพและเสียง ผ่านระบบออนไลน์ของประเทศแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย โดยพระราชบัญญัติที่อยู่อาศัยและการประสานงานบริการด้านสุขภาพ (Housing Alignment and Coordination of Critical and Effective Supportive Health Services (ACCESS) Act) ของสหรัฐอเมริกา ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยของประชาชนจำนวนมาก ซึ่งเป็นปัญหาที่มีความเร่งด่วน เนื่องจากส่งผลโดยตรงต่อปัญหาสุขภาพจิตของประชาชน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัย โดยพระราชบัญญัติที่อยู่อาศัยและการประสานงานบริการด้านสุขภาพของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวทางการทำงานที่บ้านภายใต้คำแนะนำขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization : ILO) เนื่องจากมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องภายหลังจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-๑๙
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การทำงานที่บ้านภายใต้คำแนะนำขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดของการให้ปัญญาประดิษฐ์นั้นควรถูกจัดเก็บภาษีอากรเช่นเดียวกับมนุษย์หรือไม่ พร้อมทั้งแนวทางการจัดเก็บและข้อดีข้อเสียต่างๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ปัญญาประดิษฐ์ควรถูกจัดเก็บภาษีอากรหรือไม่
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASE AN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการที่องค์การเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNSECO) ได้ตระหนักถึงผลกระทบด้านลบต่อการศึกษาจากการใช้ Generative AI (GenAI) จึงได้มีข้อแนะนำให้แก่ภาครัฐของประเทศต่าง ๆ มีแนวทางในการกำกับดูแล โดยมีวัตถุประสงค์เป็นไปเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายการใช้งานด้านการศึกษาอย่างสูงที่สุด ประกอบกับสร้างความปลอดภัย ความเท่าเทียม
และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ข้อคิดเห็นของ UNESCO ต่อการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ด้านการศึกษา ตอนที่ ๒
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายของประเทศต่าง ๆต่อการกำหนดการห้ามใช้ การจำหน่าย หรือการนำเข้าสารกันแดดที่อาจเป็นภัยต่อทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายต่างประเทศว่าด้วยการห้ามสารกันแดดเพื่อปกป้องปะการังและสัตว์ทะเลอื่น ๆ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของชาวพื้นเมือง โดยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลการศึกษาของกลุ่มชาวพื้นเมืองของประเทศแคนาดา (First Nations Control of First Nations Education Act) ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ชาวพื้นเมืองได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานที่ควรจะเป็น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การส่งเสริมคุณภาพการศึกษาของชาวพื้นเมือง โดยกฎหมายว่าด้วยการควบคุมดูแลการศึกษาของกลุ่มชาวพื้นเมืองของประเทศแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการให้ความคุ้มครอง “การออกแบบ” ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการออกแบบของประเทศออสเตรเลีย (Designs Act) ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเข้ามาอุดช่องว่างต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานสามารถสรรค์สร้างผลงานประเภทการออกแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ และได้รับการคุ้มครองเช่นเดียวกันกับทรัพย์สินทางปัญญาประเภทอื่น ๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การให้ความคุ้มครอง “การออกแบบ” ภายใต้กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองการออกแบบของประเทศออสเตรเลีย (Designs Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติว่าด้วยการจ้างงานที่เป็นธรรมของสหรัฐอเมริกา (Fair Labor Standards Act: FLSA) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมสภาพการทำงานที่ดีขึ้น โดยการกำหนดมาตรฐานของรัฐบาลกลางสำหรับค่าจ้างขั้นต่ำ ค่าล่วงเวลา การจ้างแรงงานเด็ก และการบันทึกข้อมูลของนายจ้าง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ้างงานที่เป็นธรรมของสหรัฐอเมริกา (Fair Labor Standards Act: FLSA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงมาตรการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยข้อมูลทางการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (EHR) โดยกฎหมายว่าด้วยการรักษาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Cures Act) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยเข้าถึงการรักษาได้ง่ายขึ้น โดยการนำมาตรฐานการรักษาแบบใหม่มาใช้เพื่อให้เข้าถึงข้อมูลสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Health Information: EHI)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการดูแลผู้ป่วยโดยอาศัยข้อมูลทางการแพทย์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (EHR) โดยกฎหมายว่าด้วยการรักษาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Cures Act) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการที่องค์การเพื่อการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization: UNSECO) ได้ตระหนักถึงผลกระทบด้านลบต่อการศึกษาจากการใช้ Generative AI (GenAI) จึงได้มีข้อแนะนำให้แก่ภาครัฐของประเทศต่าง ๆ มีแนวทางในการกำกับดูแล โดยมีวัตถุประสงค์เป็นไปเพื่อบรรลุถึงเป้าหมายการใช้งานด้านการศึกษาอย่างสูงที่สุด ประกอบกับสร้างความปลอดภัย ความเท่าเทียม
และสอดคล้องกับหลักจริยธรรมที่ดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ข้อคิดเห็นของ UNESCO ต่อการใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ด้านการศึกษา ตอนที่ ๑
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงหลักการห้ามผลักดันกลับ (Principle of non-refloument) อันเป็นหลักการทางสิทธิมนุษยชนสากลระหว่างประเทศภายใต้สถานการณ์การโรคระบาดโควิด-๑๙ ที่อาจส่งผลกระทบต่อผู้ลี้ภัย (Refugee) ผู้ขอลี้ภัย (Asylum seeker) และผู้อพยพ (Migrant)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ หลักการห้ามผลักดันกลับต่อสภาวการณ์โรคระบาดโควิด-๑๙
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ต่อการสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับการใช้ปัญญาประดิษฐ์แบบข้อมูลสื่อผสมผสานขนาดใหญ่ (Large Multimodal Models: LMMs) ในงานด้านสุขภาพ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ แนวทางการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ แบบระบบข้อมูลสื่อผสมผสานขนาดใหญ่ สำหรับงานด้านสุขภาพขององค์การอนามัยโลก
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization: WHO) ต่อการสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมสำหรับการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในงานด้านสุขภาพ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ แนวทางการกำหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ สำหรับงานด้านสุขภาพขององค์การอนามัยโลก
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรในกลุ่มผู้สูงอายุ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศญี่ปุ่นเป็นอย่างมาก รัฐบาลญี่ปุ่นจึงส่งเสริมการเพิ่มการมีส่วนร่วมในตลาดแรงงานของประชากรผู้สูงอายุ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุของประเทศญี่ปุ่น
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการควบคุมสื่อลามกอนาจารของสตรีของประเทศอินเดีย (Indecent Representation of Women Act 1986) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อควบคุมภาพลักษณ์ของสตรีที่ปรากฏในสื่ออินเดียในปัจจุบัน ซึ่งให้ความสำคัญกับความรู้สึกของคนในสังคมและความถูกต้องตามศีลธรรมอันดี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมและทัศนคติที่เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยในด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการควบคุมสื่อลามกอนาจารของสตรีของประเทศอินเดีย (Indecent Representation of Women Act 1986)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติว่าด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ของประเทศนิวซีแลนด์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์เพื่อแก้ปัญหาอัตราการเกิดต่ำ ซึ่งมาตรการทางกฎหมายดังกล่าวจะช่วยคุ้มครองสุขภาพและความปลอดภัยในการให้กำเนิดบุตรโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ของประเทศนิวซีแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการใช้ปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรป ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการวางกรอบแนวคิดทางกฎหมายเพื่อป้องกันการใช้ปัญญาประดิษฐ์เป็นเครื่องมือที่นำไปสู่การกระทำที่ผิดทางกฎหมายต่างๆ หรือนำไปใช้ประโยชน์ในทางที่มิชอบ ตลอดจนสร้างมาตรฐานทางจริยธรรมที่ดี ความโปร่งใสในการใช้งานและสิทธิขั้นพื้นฐานของประชากรชาวยุโรป
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการควบคุมการใช้ปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรป
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงแนวคิดขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนาหรือ OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) ต่อการสร้างรายได้ให้แก่ภาครัฐในรูปแบบของการจัดเก็บภาษีประเภทต่างๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ แนวทางของ OECD ต่อการจัดเก็บภาษีในสภาวะสังคมผู้สูงอายุ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง “การคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ (Trafficking Victims Protection Act: TVPA)” ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์เพื่อต่อต้านอาชญากรรมการค้ามนุษย์ที่ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ และขับเคลื่อนแนวทางการจัดการกับปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ตกเป็นเหยื่อจากการค้ามนุษย์ (Trafficking Victims Protection Act: TVPA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ศาลญี่ปุ่นพิพากษายกฟ้องคดีการยื่นขอรับสิทธิบัตรสำหรับสิ่งประดิษฐ์โดย AI
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงรัฐบัญญัติควบคุมเสียงรบกวน พ.ศ. ๒๕๑๕ (Noise Control Act: NCA) ของสหรัฐอเมริกา ที่มีบทบาทในการจัดการกับแหล่งที่มาของเสียงรบกวน รวมถึงยานยนต์ เครื่องจักร เครื่องใช้ไฟฟ้า และผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์อื่น ๆ โดยการออกกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการปล่อยเสียงรบกวนจากแหล่งต่าง ๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ รัฐบัญญัติควบคุมเสียงรบกวน พ.ศ. ๒๕๑๕ (Noise Control Act: NCA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง รัฐบัญญัติควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act: TSCA) ของสหรัฐอเมริกาซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของสุขภาพประชาชนและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของสารเคมีให้ได้รับการควบคุมอย่างเหมาะสม
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ รัฐบัญญัติควบคุมสารพิษ (Toxic Substances Control Act: TSCA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมายฉบับนี้ได้รวมมาตรการที่อนุญาตให้สหราชอาณาจักร (อังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ) กำกับดูแลการเพิ่มอายุขั้นต่ำของสัตว์ที่เป็น สุนัข และแมวที่ถูกนำเข้าและห้ามการนำเข้าสุนัขและแมวที่ตั้งครรภ์เกินกว่า ๔๒ วัน หรือที่ถูกตัดอวัยวะ(Mutilation) เช่น สุนัขที่ถูกตัดหู (ears cropped) และตัดหาง (tail docked) รวมถึงแมวที่ถูกถอดกรงเล็บ (declawing) เป็นต้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ในการนำเข้าสุนัข แมว และเฟอเรท (Animal Welfare (Import of Dogs, Cats and Ferrets) ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมายฉบับนี้ถูกพิจารณาวาระที่สองในชั้นของวุฒิสภาเมื่อวันที่ ๒๒ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๔ ซึ่งถือเป็นร่างกฎหมายที่เป็น private member bill ที่ผลักดันโดย บารอเนส เฮเลนา เคนเนดี้ (Baroness Kennedy of The Shaws) สมาชิกวุฒิสภา โดยกำหนดบทบัญญัติเกี่ยวกับวิธีการที่รัฐบาลใช้ติดตามและรายงานกิจกรรมต่าง ๆ ในการป้องกันและตอบโต้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และอาชญากรรมที่โหดร้ายอื่น ๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและการตอบโต้การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide (Prevention and Response) Bill) ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการเสียชีวิตจากผลของการกระทำอันผิดกฎหมายของรัฐฟลอริดา(Florida Wrongful Death Act) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคคลที่ทำให้ผู้อื่นเสียชีวิตโดยมิชอบจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของตน และผู้รอดชีวิตและครอบครัวของผู้เสียชีวิตจะได้รับค่าชดเชยที่ยุติธรรมและการเยียวยาทางการเงินจากการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการเสียชีวิตจากผลของการกระทำอันผิดกฎหมายของรัฐฟลอริดา(Florida Wrongful Death Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการจัดการปัญหาการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของชาวต่างชาติโดยกฎหมายการจัดการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งกำหนดให้บุคคลหรือนิติบุคคลใด ๆ ที่ได้มาหรือใช้อสังหาริมทรัพย์ในพื้นที่ที่กำหนดจะต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งจะมีการกำหนดพื้นที่ที่อยู่ภายใต้พระราชบัญญัตินี้ ได้แก่ “พื้นที่ตรวจสอบ” และ “พื้นที่ตรวจสอบพิเศษ”
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การจัดการปัญหาการซื้ออสังหาริมทรัพย์ของชาวต่างชาติโดยกฎหมายการจัดการที่ดินและสิ่งปลูกสร้างของประเทศญี่ปุ่น
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการบันทึกสื่อในเรือนจำ (Prison Media Bill) ของอังกฤษและเวลส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปิดช่องว่างทางกฎหมายที่ยังไม่มีบทบัญญัติในการกระทำความผิดสำหรับบุคคลที่สามจากภายนอกเรือนจำที่อัปโหลดสื่อบันทึกโดยรู้ว่าเกิดจากการบันทึกที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายภายในอาณาเขตเรือนจำ (prison land)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการบันทึกสื่อในเรือนจำ (Prison Media Bill) ของอังกฤษและเวลส์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาของอังกฤษและเวลส์ (The Schools (Mental Health Professionals) Bill) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสุขภาพจิตและความเป็นอยู่ที่ดีของเด็กและเยาวชนในสถานศึกษา รวมถึงเสนอการศึกษาภาคบังคับด้านสุขศึกษาในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย โดยกำหนดการให้เงินทุนเพื่อสนับสนุนการฝึกอบรมผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาและการสร้างทีมบริการด้านสุขภาพจิตสำหรับเด็กและเยาวชน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตในสถานศึกษาของอังกฤษและเวลส์ (The Schools (Mental Health Professionals) Bill)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง สาระน่ารู้ของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบโดยองค์การอนามัยโลก (WHO Framework Convention on Tobacco Control; WHO FCTC) ซึ่งเป็นสนธิสัญญาที่เกิดจากความตระหนักถึงปัญหาการแพร่ระบาดของยาสูบขององค์การอนามัยโลก และสะท้อนให้เห็นถึงมาตรการด้านสุขภาพขั้นสูงสุดในการส่งเสริมการสาธารณสุขและเป็นมิติทางกฎหมายใหม่สำหรับความร่วมมือด้านสุขภาพระหว่างประเทศ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ สาระน่ารู้ของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสูบโดยองค์การอนามัยโลก (WHO Framework Convention on Tobacco Control; WHO FCTC)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง กฎหมายเพื่อคุ้มครองลูกจ้าง; ร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อกับนายจ้างนอกเวลาทำงาน (Right to Disconnect Law) ของรัฐ Ontario โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ลูกจ้างได้รับสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อจากงาน ซึ่งภายใต้กฎหมายนี้ นายจ้างจำเป็นต้องคำนึงถึงสิทธิในตัดการเชื่อมต่อดังกล่าวของพนักงาน ควบคู่ไปกับการใช้กฎหมายแรงงานของแคนาดา
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายเพื่อคุ้มครองลูกจ้าง; ร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิในการตัดการเชื่อมต่อกับนายจ้างนอกเวลาทำงาน (Right to Disconnect Law) ของรัฐ Ontario
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการลักพาตัวสัตว์เลี้ยงของอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการลักพาตัวสัตว์เลี้ยงของอังกฤษและไอร์แลนด์เหนือ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมาย C-52 พระราชบัญญัติความรับผิดชอบในการขนส่งทางอากาศและแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งและพระราชบัญญัติการเดินเรือของแคนาดา (An Act to enact the Air Transportation Accountability Act and to amend the Canada Transportation Act and the Canada Marine Act)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย C-52 พระราชบัญญัติความรับผิดชอบในการขนส่งทางอากาศและแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการขนส่งและพระราชบัญญัติการเดินเรือของแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
วัตถุประสงค์หลักของร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม (การรักษาความลับทางการทหารของออสเตรเลีย) ค.ศ. ๒๐๒๓ (the Defence Amendment (Safeguarding Australia’s Military Secrets Bill 2023) คือการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม ค.ศ. ๑๙๐๓ (the Defence Act 1903: TDA) เพื่อป้องกันไม่ให้อดีตข้าราชการกลาโหม (Defence staff members) รวมถึงสมาชิกกองกำลังป้องกันประเทศออสเตรเลีย (Australian Defence Force: ADF) ไปทำงานที่มีการให้ข้อมูลที่มีความละเอียดอ่อนแก่กองทัพ รัฐบาล หน่วยงานรัฐของต่างชาติโดยไม่ได้รับอนุญาต
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติกลาโหม (การรักษาความลับทางการทหารของออสเตรเลีย) ค.ศ. ๒๐๒๓
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายต่อต้านการก่อการร้าย (สัญลักษณ์ต้องห้ามที่แสดงความเกลียดชังและมาตรการอื่น ๆ) ค.ศ.๒๐๒๓ (Counter-Terrorism Legislation Amendment (Prohibited Hate Symbols and Other Measures) Bill 2023 ของออสเตรเลีย ได้เสนอการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายอาญาของสหพันธรัฐ โดยเสนอบทบัญญัติใหม่เกี่ยวกับการกระทำความผิดที่เป็นพฤติกรรมของกลุ่มหัวรุนแรงหรือผู้ก่อการร้าย และแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายฉบับปัจจุบันเกี่ยวกับความผิดของกลุ่มหัวรุนแรงหรือผู้ก่อการร้าย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายต่อต้านการก่อการร้าย (สัญลักษณ์ต้องห้ามที่แสดงความเกลียดชังและมาตรการอื่น ๆ) ค.ศ. ๒๐๒๓ ของออสเตรเลีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติยาและเครื่องสำอาง (Drugs and Cosmetics Act) ของประเทศอินเดียซึ่งมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพของเครื่องสำอางและยา โดยกำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต นำเข้า และจำหน่ายเครื่องสำอางและยาโดยเฉพาะ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติยาและเครื่องสำอาง (Drugs and Cosmetics Act) ของประเทศอินเดีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติความปลอดภัยของก๊าซแรงดันสูง (High Pressure Gas Safety Act) ของประเทศญี่ปุ่น ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดการก๊าซแรงดันสูง โดยกำหนดให้มีการควบคุมควบคุมการผลิต การจัดเก็บ และการจำหน่ายอย่างเข้มงวด
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติความปลอดภัยของก๊าซแรงดันสูง (High Pressure Gas Safety Act) ของประเทศญี่ปุ่น
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความฉบับนี้แสดงรายละเอียดโดยรวมของกฎหมายในปัจจุบันที่ควบคุมการผลิต การเก็บรักษา การจัดหา การครอบครอง และการใช้ดอกไม้ไฟในอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายเกี่ยวกับดอกไม้ไฟของบริเตนใหญ่
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (การส่งออกปศุสัตว์) (Animal Welfare (Livestock Exports) Bill 2023-24) ของบริเตนใหญ่ ซึ่งบัญญัติห้ามการส่งออกปศุสัตว์จากบริเตนใหญ่ไปนอกเกาะบริเตนใหญ่เพื่อฆ่าเป็นอาหาร ถูกเสนอเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ค.ศ. ๒๐๒๓ และได้มีการพิจารณาในวาระที่สองเมื่อวันที่ ๑๘ ธันวาคม ค.ศ. ๒๐๒๓
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ (การส่งออกปศุสัตว์) (Animal Welfare (Livestock Exports) Bill 2023-24) ของบริเตนใหญ่
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติโรคติดต่อ (IDA) ถือเป็นกฎหมายหลักที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสิงคโปร์ โดยคำนึงถึงความเป็นอยู่ที่ดีของชาวสิงคโปร์ชาวสิงคโปร์และทำให้ชาวสิงคโปร์สามารถมั่นใจได้ว่าจะพวกเขาจะสามารถรับมือกับภัยคุกคามด้านสุขภาพได้
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (Infectious Diseases Act: IDA) ของประเทศสิงคโปร์
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ (Disability Discrimination Act: DDA) ของประเทศไอร์แลนด์เหนือ ซึ่งเป็นกฎหมายที่รับรองสิทธิของคนพิการในสถานที่ทำงานและมีผลกระทบต่อเจ้าของธุรกิจ เนื่องจากมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้คนพิการสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการได้อย่างเท่าเทียมกัน และกำหนดให้การเลือกปฏิบัติเนื่องจากความทุพพลภาพของคนพิการถือเป็นสิ่งผิดกฎหมาย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ (Disability Discrimination Act: DDA) ของประเทศไอร์แลนด์เหนือ
ร่างกฎหมายฉบับนี้กำหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังดำเนินการพัฒนาระบบของชาติเพื่อกำหนดการประกันรายได้พื้นฐานในการดำรงชีวิตซึ่งให้รวมถึงบุคคลในแคนาดาที่มีอายุมากกว่า ๑๗ ปี
รวมถึงผู้ทำงานรับจ้าง (temporary worker) ผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวร (permanent resident) ผู้ยื่นข้อเรียกร้องเพื่อการคุ้มครองในฐานะผู้ลี้ภัย (refuge claimants)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย S – 233 : พระราชบัญญัติว่าด้วยการพัฒนากรอบการดำเนินการระดับชาติ เพื่อประกันรายได้พื้นฐานในการดำรงชีวิต (An Act to Develop a National Framework for a Guaranteed Livable Basic Income) ของแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
สัญญาร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (PPP)
มีความแตกต่างกับสัญญาทางปกครองทั่วไปภายใต้กฎหมายของอาร์เจนติน่า เพราะเมื่อเทียบกันแล้วสัญญา PPP มีการสร้างความเท่าเทียมกันมากกว่าระหว่าง
คู่สัญญาทั้งสองฝ่าย นอกจากนี้ สัญญา PPP ได้มีการจัดหาเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นมากขึ้น ในการระบุข้อกำหนดและเงื่อนไขของสัญญา รวมถึงแหล่งที่มาของเงินลงทุนที่กว้างมากและกลไกการระงับข้อพิพาทที่มีความหลากหลายมากขึ้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชนในอาร์เจนติน่า
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง พระราชบัญญัติว่าด้วยการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องผู้ที่ไม่สูบบุหรี่จากผลกระทบที่เป็นอันตรายของควันบุหรี่มือสอง กล่าวคือควันที่ผู้สูบคนนั้นพ่นลมหายใจออกมา
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกำหนดเขตปลอดบุหรี่ (Smoking (Prohibition in Certain Places) Act 1992) ของประเทศสิงคโปร์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยด้านอาหารและสารอันตราย (Ensuring Safe and Toxic-Free Foods Act) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างมาตรการด้านความปลอดภัยของอาหารที่สำคัญและปกป้องชาวอเมริกันและครอบครัวจากสารเคมีและสารที่เป็นอันตราย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยความปลอดภัยด้านอาหารและสารอันตราย (Ensuring Safe and Toxic-Free Foods Act) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึง กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศของประเทศจีนซึ่งเป็นกฎหมายกำหนดกรอบเพื่อจัดการกับมลพิษทางอากาศของจีน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องและพัฒนาสิ่งแวดล้อม การป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศ การปกป้องสุขภาพของประชาชน การส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางระบบนิเวศ และการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่ยั่งยืน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและควบคุมมลพิษทางอากาศของประเทศจีน (The Law on Air Pollution Prevention and Control)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติการจราจรทางบกของประเทศสิงคโปร์ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (Road Traffic Act: RTA) ซึ่งได้รับการแก้ไขในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และ พ.ศ. ๒๕๖๔ เพื่อเพิ่มบทกำหนดโทษทางอาญาและเพิ่มความเข้มงวดในการกำกับดูแลเพื่อความปลอดภัยบนท้องถนน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติการจราจรทางบกของประเทศสิงคโปร์ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (Road Traffic Act: RTA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา ไนจีเรียได้เผชิญกับปัญหาการบังคับบุคคลให้สูญหายเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสถานการณ์ด้านความปลอดภัยในประเทศที่ย่ำแย่ลง กองกำลังความมั่นคงของไนจีเรียได้ตกเป็นที่จับตามองอยู่เสมอในข้อกล่าวหาด้านนโยบายที่ไตร่ตรองมาเป็นอย่างดีในการกระทำการแก่ผู้ต้องสงสัยผ่านการใช้วิธีการวิสามัญฆาตกรรม รวมถึงการบังคับบุคคลให้สูญหาย ซึ่งการปฏิบัติดังกล่าวถือเป็นการเพิกเฉยต่อพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนของรัฐภายใต้กฎหมายภายในประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศอย่างเห็นได้ชัด
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การบังคับให้บุคคลสูญหายในไนจีเรีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างอย่างเสมอภาค ค.ศ. ๑๙๗๒ (the Equal Pay Act 1972: EPA) ของนิวซีแลนด์กำหนดห้ามนายจ้างจ่ายค่าจ้างให้ชายและหญิงที่ทำงานอย่างเดียวกันในอัตราที่แตกต่างกัน รวมถึงป้องกันการเลือกปฏิบัติเรื่องอัตราค่าจ้างเท่านั้น แต่ไม่ห้ามการเลือกปฏิบัติโดยทั่วไปต่อผู้หญิงในการจ้างงาน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติว่าด้วยการจ่ายค่าจ้างอย่างเสมอภาค (the Equal Pay Act) ของนิวซีแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติการไร้ที่อยู่อาศัย ค.ศ. ๒๐๐๒ (Homelessness Act 2002) ของประเทศอังกฤษซึ่งนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงก้าวสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลือบุคคลไร้ที่อยู่อาศัยภายในประเทศอังกฤษและเป็นกฎหมายสำคัญที่ออกมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงการจัดสรรที่พักอาศัยของหน่วยงานส่วนท้องถิ่นด้วย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติการไร้ที่อยู่อาศัย ค.ศ. ๒๐๐๒ (Homelessness Act 2002) ของประเทศอังกฤษ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติการดูแลผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลีย (Aged Care Act 1997) ซึ่งได้กำหนดกรอบทางกฎหมายสำหรับการให้เงินสนับสนุนและกฎระเบียบในการดูแลผู้สูงอายุโดยรัฐบาลออสเตรเลียจะมอบเงินสนับสนุนบริการดูแลผู้สูงอายุสำหรับผู้สูงอายุในประเภทต่าง ๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พระราชบัญญัติการดูแลผู้สูงอายุของประเทศออสเตรเลีย (Aged Care Act 1997)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพระราชบัญญัติควบคุมมลพิษทางน้ำของรัฐบาลกลางปี ค.ศ. ๑๙๔๘ (พ.ศ. ๒๔๙๑) ซึ่งเป็นกฎหมายหลักฉบับแรกของสหรัฐเพื่อจัดการกับมลพิษทางน้ำ โดยการเสริมสร้างความตระหนักรู้ของสาธารณชนและความกังวลเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้ำนำไปสู่การปฏิรูปเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. ๑๙๗๒ (พ.ศ. ๒๕๑๕) กฎหมายดังกล่าวจึงกลายเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในชื่อ Clean Water Act (CWA)
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการจัดการมลพิษทางน้ำ (Clean Water Act: CWA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎระเบียบ Food Allergy Safety, Treatment, Education, and Research Act of 2021 หรือที่เรียกว่า FASTER Act โดยมีการแก้ไขรายการสารก่อภูมิแพ้ที่ต้องแสดงบนฉลากกำหนดให้งา (sesame) อยู่ในรายการสารก่อภูมิแพ้ในอาหารเป็นลำดับที่ ๙ ภายใต้กฎระเบียบการแสดงฉลากอาหารที่มีสารก่อภูมิแพ้ (Food Allergen Labeling and Consumer Protection Act of 2004) ซึ่งเดิมมีอยู่ ๘ ชนิด โดยกฎระเบียบดังกล่าวมีผลบังคับใช้โดยทั่วไปตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เป็นต้นไป
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมาย Food Allergy Safety, Treatment, Education, and Research Act of 2021 (FASTER) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมาย C-41 ได้แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา เพื่อให้ชาวแคนาดาสามารถให้ความช่วยเหลือบางรูปแบบในพื้นที่ที่ถูกกลุ่มผู้ก่อการร้ายควบคุมได้ เมื่อได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงความปลอดภัยสาธารณะ ร่างกฎหมาย C-41 ได้กำหนดเงื่อนไขให้ต้องมีการปฏิบัติตามก่อนจึงจะสามารถพิจารณาให้การอนุญาตได้ ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบด้านความความปลอดภัยให้เสร็จสิ้นด้วย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย C- 41 : พระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาและการแปรญัตติต่อเนื่อง ถึงพระราชบัญญัติอื่น ๆ (An Act to amend the Criminal Code and to make consequential amendments to other Acts) ของแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมายฉบับนี้ได้บัญญัติหลักการเกี่ยวกับการกำหนดแนวทางของรัฐบาลกลางในการส่งเสริมและรักษาการเรียนรู้และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย หรือเรียกโดยย่อว่า Early Learning and Child Care (ELCC) ซึ่งสามารถเข้าถึงได้ในราคาย่อมเยา มีความครอบคลุม และมีคุณภาพสูง โดยมีการประสานความร่วมมือกับทางมณฑลและชนเผ่าพื้นเมือง ในบทนำ (preamble) ของร่างกฎหมายฉบับนี้แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของทางรัฐบาลกลางที่ยังคงดำเนินการตามกรอบการเรียนรู้และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัยในรูปแบบพหุภาคี และของชนเผ่าพื้นเมือง รวมถึงการปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่างประเทศที่ดำเนินการโดยแคนาดาในขอบเขตเรื่องสิทธิมนุษยชน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย C-35 : พระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้และการดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย (An Act respecting early learning and child care) ของแคนาดา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
กฎหมายการย้ายถิ่นฐานของผู้มีทักษะความสามารถของเยอรมนี (The Skilled Immigration Act) เป็นกฎหมายใหม่ที่ช่วยขยายโอกาสสำหรับการเข้ามาทำงานในเยอรมนี ในปัจจุบัน เป็นเรื่องง่ายขึ้นสำหรับแรงงานฝีมือที่มีการฝึกอบรมวิชาชีพและไม่ใช่การฝึกอบรมเชิงวิชาการจากประเทศนอกสหภาพยุโรปที่จะย้ายถิ่นฐานไปทำงานในเยอรมนี
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายการย้ายถิ่นฐานของผู้มีทักษะความสามารถของเยอรมนี (The Skilled Immigration Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act) ซึ่งเป็นกฎหมายที่กำกับดูแลการรับบุตรบุญธรรมในประเทศสิงคโปร์ โดยการกำกับดูแลการรับบุตรบุญธรรมนั้นถูกกำหนดให้อยู่ภายใต้คำสั่งตามกฎหมายทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการโอนสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบทั้งหมดของบิดามารดาผู้ให้กำเนิดไปยังฝ่ายผู้รับบุตรบุญธรรมอย่างถาวร
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act) ซึ่งกำกับดูแลการรับบุตรบุญธรรมให้อยู่ภายใต้กฎหมายทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการโอนสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบทั้งหมดของบิดามารดาผู้ให้กำเนิดไปยังฝ่ายผู้รับบุตรบุญธรรมอย่างถาวร
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการรับบุตรบุญธรรมของประเทศสิงคโปร์ (Adoption of Children Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ทุกประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีกฎระเบียบเรื่องบุคคลที่มีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (franchise) ในการเลือกตั้งนั้นปกติขึ้นอยู่กับสัญชาติ อายุ และที่อยู่อาศัย มาตรา ๒ กำหนดความหมายของสิทธิในการลงคะแนนเสียงและบุคคลที่รับผิดชอบสำหรับบทกฎหมายสำหรับสิทธิในการลงคะแนนเสียง เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมากฎระเบียบเกี่ยวกับผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักรได้มีความหลากหลายกันไปซึ่งขึ้นอยู่กับถิ่นที่อยู่ในสหราชอาณาจักรที่บุคคลนั้นอาศัยอยู่
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร (ตอนที่ ๑)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ทุกประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีกฎระเบียบเรื่องบุคคลที่มีสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง (franchise) ในการเลือกตั้งนั้นปกติขึ้นอยู่กับสัญชาติ อายุ และที่อยู่อาศัย มาตรา ๒ กำหนดความหมายของสิทธิในการลงคะแนนเสียงและบุคคลที่รับผิดชอบสำหรับบทกฎหมายสำหรับสิทธิในการลงคะแนนเสียง เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมากฎระเบียบเกี่ยวกับผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร ได้มีความหลากหลายกันไปซึ่งขึ้นอยู่กับถิ่นที่อยู่ในสหราชอาณาจักรที่บุคคลนั้นอาศัยอยู่
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ผู้มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งในสหราชอาณาจักร (ตอนที่ ๒)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act: RCRA) ของสหรัฐอเมริกาซึ่งเป็นกฎหมายฉบับแรกที่วางหลักการในการจัดการของเสีย ทั้งของเสียทั่วไป และขยะอันตราย โดยใช้หลักการ cradle-to-grave waste management เพื่อติดตามขยะอันตรายอย่างครบวงจร
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์และการฟื้นฟูทรัพยากร (Resource Conservation and Recovery Act: RCRA) ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการตายด้วยความสมัครใจของเครือรัฐออสเตรเลีย ซึ่งเป็นกฎหมายที่รองรับความชอบธรรมในการฆ่าตัวตายสำหรับผู้ที่ทุกข์ทรมานและกำลังจะตายในการที่จะเลือกลักษณะและเวลาของการตายได้ แต่ทั้งนี้ก็มีมาตรการป้องกันที่ครอบคลุมและการคุ้มครองที่เข้มงวดในการคัดกรองบุคคลที่จะสามารถได้รับความช่วยเหลือให้สามารถตายด้วยความสมัครใจได้
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการตายด้วยความสมัครใจ (Voluntary Assisted Dying Act) ของเครือรัฐออสเตรเลีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
กฎหมาย The Child Support Act 1991 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎหมาย the Child Maintenance and Other Payments Act 2008 มีบทบัญญัติใหม่ที่อนุญาตให้ secretary of state จัดทำคำสั่ง liability order โดยไม่ต้องยื่นคำร้องขอต่อศาลก่อนในลำดับแรก สำหรับร่างกฎหมายฉบับนี้แก้ไขเพิ่มเติมส่วนสำคัญโดยให้ secretary of state สามารถจัดทำคำสั่งที่เป็น liability order และมีการสร้างบทกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบของ liability order และกำหนดข้อบังคับ (regulations) ที่มีบทกฎหมายเรื่องอุทธรณ์ (appeal) ผู้สนับสนุนร่างกฎหมายฉบับนี้อ้างเหตุผลว่า จะทำให้มีการนำมาตรการบังคับใช้ตามกฎหมาย (enforcement) มาใช้อย่างรวดเร็วมากขึ้นแก่ผู้ปกครองที่ไม่ได้จ่ายเงินค่าอุปการะเลี้ยงดูบุตร
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย the Child Support (Enforcement) ของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
จุดประสงค์ของร่างกฎหมายนี้ คือ การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย the Equality Act 2010 เพื่อทำให้นายจ้างมีความรับผิดตามกฎหมายสำหรับการล่วงละเมิด (Harassment) ของลูกจ้างโดยบุคคลที่สาม (เช่น ลูกค้าหรือผู้รับบริการ) เป็นการเสนอหน้าที่โดยเฉพาะเจาะจงแก่นายจ้างเพื่อดำเนินการตามขั้นตอน ที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการล่วงละเมิดทางเพศ (sexual harassment) ต่อลูกจ้างของตน โดยร่างกฎหมายดังกล่าวได้มีการตราบทบัญญัติเพื่อยกระดับเรื่องค่าสินไหมทดแทน (compensation) ในหลายคดีที่มีการฝ่าฝืนจากนายจ้างที่ต้องกระทำการตามหน้าที่
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Worker Protection (Amendment of Equality Act 2010) ของอังกฤษ เวลส์ และสกอตแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการสื่อสารที่เหมาะสมของสหรัฐอเมริกา (Communications Decency Act: CDA) ซึ่งกำหนดให้มีการปกป้องผู้ที่ช่วยป้องกันและคัดกรองเนื้อหาที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยให้ความคุ้มครองแก่ผู้ให้บริการที่ไม่ได้เป็นผู้เผยแพร่หรือไม่ได้เป็นเจ้าของเนื้อหาให้ไม่ต้องรับผิดชอบในทางแพ่งต่อการกระทำด้วยวิธีใด ๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการสื่อสารที่เหมาะสมของสหรัฐอเมริกา (Communications Decency Act CDA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนของสิงคโปร์ (The Children and Young Persons Act: CYPA) ซึ่งอนุญาตให้กระทรวงพัฒนาสังคมและสถาบันครอบครัว (Ministry of Social and Family Development: MSF) ของสิงคโปร์สามารถเข้าแทรกแซงเพื่อให้การคุ้มครองดูแลและช่วยเหลือที่จำเป็นต่อเด็กอายุต่ำกว่า ๑๖ ปีที่ถูกทารุณกรรมหรือถูกทอดทิ้ง ซึ่งร่างกฎหมาย CYPA พยายามที่จะขยายขอบเขตการคุ้มครองดังกล่าวไปยังเด็กอายุต่ำกว่า ๑๘ ปีด้วย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองเด็กและเยาวชนของสิงคโปร์ (The Children and Young Persons Act CYPA)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
โรงเรียนมีส่วนสำคัญในการปกป้องคุ้มครองเด็ก ๆ ในโรงเรียนในอังกฤษ ภายใต้กฎหมาย the Education Act 2002 โรงเรียนประเภท maintained schoolมีหน้าที่ทำการคุ้มครอง และสนับสนุนสวัสดิภาพของเด็กนักเรียน ข้อกำหนดที่มีความคล้ายกันได้มีการปรับใช้ในโรงเรียนประเภท independent school (ซึ่งรวมถึง academies และ free schools) โดยมาตรฐานตามกฎระเบียบของ independent school ทางกระทรวงศึกษาธิการ (Department for Education) ได้เผยแพร่คู่มือปฏิบัติตามกฎหมาย ซึ่งทำให้เด็ก ๆ ได้รับความปลอดภัยในการศึกษา โดยจากข้อมูลได้กำหนดสิ่งที่จะทำให้โรงเรียนต้องปฏิบัติตามความรับผิดชอบในการคุ้มครองเด็ก
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ นโยบายการปกป้องคุ้มครองของโรงเรียนในอังกฤษ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ในวันที่ ๗ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๓ ได้มีการพิจารณาร่างกฎหมาย Illegal Migration ในชั้นของสภาผู้แทนราษฎร (House of Common) ของสหราชอาณาจักร และได้พิจารณาวาระที่สอง ในวันที่ ๑๓ มีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๓ โดยมีจุดประสงค์เพื่อป้องกันและยับยั้งการย้ายถิ่นฐานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย ซึ่งมุ่งเน้นเรื่องการย้ายถิ่นฐานที่ใช้เส้นทางไม่ปลอดภัย และไม่ชอบด้วยกฎหมาย โดยกำหนดให้มีการย้ายถิ่นฐานออกจากสหราชอาณาจักรสำหรับบุคคลที่เข้ามาในสหราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืนการควบคุมคนเข้าเมือง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Illegal Migration ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมายนี้บัญญัติห้ามการขายและการเสนอการขาย ตลอดจนการโฆษณากิจกรรมเกี่ยวกับสัตว์ที่มีสวัสดิภาพในระดับต่ำที่จัดขึ้นในต่างประเทศ โดยห้ามกระทำการในอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือซึ่งกิจกรรมต้องห้ามเหล่านี้ครอบคลุมถึงคำจำกัดความที่กำหนดโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของสหราชอาณาจักรแต่ละแห่งซึ่งระบุไว้ในกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และครอบคลุมถึงการกระทำที่ถือเป็นความผิดภายใต้กฎหมาย the Animal Welfare Act 2006 ในอังกฤษและเวลส์ กับกฎหมาย Welfare of Animals Act (Northern Ireland) 2011
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Animals (Low-Welfare Activities Abroad) ของอังกฤษ เวลส์ และไอร์แลนด์เหนือ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการเคลื่อนย้ายและความรับผิดชอบในการประกันสุขภาพ (Health Insurance Portability and Accountability Act : HIPAA) ซึ่งเป็นกฎหมายของรัฐบาลกลางที่กำหนดให้ต้องมีการสร้างมาตรฐานระดับสากลเพื่อปกป้องคุ้มครองข้อมูลด้านสุขภาพที่ละเอียดอ่อนของผู้ป่วยจากการถูกเปิดเผยโดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการเคลื่อนย้ายและความรับผิดชอบในการประกันสุขภาพ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในสหราชอาณาจักร (The Abortion Act 1967) ซึ่งอนุญาตให้หญิงสามารถทำแท้งได้ภายใต้เงื่อนไขบางประการ ซึ่งกฎหมายดังกล่าวถือเป็นเป็นก้าวสำคัญสำหรับสิทธิเสรีภาพของสตรีในสหราชอาณาจักร
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายเกี่ยวกับการทำแท้งในสหราชอาณาจักร (The Abortion Act 1967)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
กฎระเบียบในเรื่องของ “procurement” ซึ่งตามความหมาย คือ “การจัดซื้อจัดจ้าง” ได้ถูกนำมาใช้ในการกำกับดูแลหน่วยงานของรัฐ (public authority) ในการจัดหาสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ และบริการ รวมถึงงานด้านสาธารณะต่าง ๆ จากภาคเอกชน รัฐบาลสหราชอาณาจักรได้มีการปฏิรูปกฎหมายภายในซึ่งได้ถูกออกแบบให้สอดคล้องกับกฎหมายสหภาพยุโรป ถือเป็นโอกาสที่ดีขึ้นในการกำหนดกรอบแผนในการดำเนินการเพื่อการจัดซื้อจัดจ้าง โดยมีความเชื่อว่าในการปฏิรูปกฎหมายจะทำให้การจัดซื้อจัดจ้าง มีความง่าย รวดเร็ว มีความโปร่งใสมากขึ้น และลดความล่าช้าของระบบราชการ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Procurement ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
จากการพัฒนาด้านการออกแบบสนามฟุตบอลในช่วงที่ผ่านมา ในส่วนที่เป็นอัฒจันทร์ของผู้ชม และความสำเร็จในมาตรการ safe standing ของประเทศในยุโรปชาติอื่น ๆ นำไปสู่การเรียกร้องในการเริ่มต้นพิจารณาให้มีบริเวณอัฒจันทร์ที่เป็น safe standing ของพรีเมียร์ลีกและแชมเปี้ยนชิพ จากประกาศแถลงการณ์ของพรรคอนุรักษ์นิยมใน ปี ค.ศ. ๒๐๑๙รวมถึงข้อตกลงที่จะทำงานร่วมกับแฟนบอลและสโมสรเรื่องการพิจารณาจัดให้มี safe standing
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Safe standing ของสนามฟุตบอลในอังกฤษและเวลส์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายปฏิรูปสถานประกอบการดูแลผู้สูงอายุซึ่งกำหนดสิทธิของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในสถานดูแลผู้สูงอายุไว้หลายประการ เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกคนได้รับการดูแลที่เหมาะสมทั้งในด้านบริการทางการแพทย์ ด้านสิทธิความเป็นส่วนตัว หรือด้านปัจเจกบุคคล ซึ่งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นว่าผู้สูงอายุทุกคนจะได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเหมาะสมและปราศจากการถูกละเมิดสิทธิหรือการละเลย
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายปฏิรูปสถานประกอบการดูแลผู้สูงอายุ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคาร (Building Safety Act 2022) ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อปฏิรูปกฎเกณฑ์ข้อบังคับตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของอาคาร ซึ่งกฎหมายนี้มีการรวบรวมและนำหลักเกณฑ์ มาตรการ และแนวปฏิบัติต่าง ๆ รวมถึงพระราชบัญญัติความปลอดภัยด้านอัคคีภัย (Fire Safety Act 2021) เข้ามาปรับปรุงพัฒนาให้กฎหมายมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น กฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคารจะทำให้ประชาชนรู้สึกมั่นใจถึงความปลอดภัยในการอยู่อาศัยและปรับเปลี่ยนแนวทางในการออกแบบ การก่อสร้าง และการควบคุมดูแลอาคารให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายควบคุมความปลอดภัยอาคาร (Building Safety Act 2022) แห่งสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
สภาคองเกรสได้ผ่านกฎหมายโครงสร้างพื้นฐาน (Bipartisan infrastructure law: BIL) หรือ Infrastructure Investment and Jobs Act ในเดือนพฤจิกายน ค.ศ. ๒๐๒๑ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ และกระตุ้นให้เกิดการแข่งขันทางเศรษฐกิจในอดีตที่ผ่านมานั้นได้มีการกำหนดนโยบายที่จะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานแต่ยังไม่ได้มีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม ต่อมาโจ ไบเดน ประธานาธิบดี สหรัฐอเมริกาได้ตกลงที่จะดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อที่จะดำเนินการตามแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานนั้นจึงได้มีการเจรจาข้อตกลงกับสมาชิกสภาคองเกรสจากพรรคการเมืองทั้งสองฝ่าย โดยกฎหมายฉบับนี้มีการลงนามโดยประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา และออกบังคับใช้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Bipartisan infrastructure law ของสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการดิจิทัล (Digital Services Act) หรือ DSA ซึ่งเป็นกฎหมายใหม่ที่จะเข้ามาควบคุมแพลตฟอร์มออนไลน์หลัก ๆ ที่ได้รับความนิยมจากผู้ใช้งาน เช่น Facebook Youtube Tiktok Twitter และแพลตฟอร์มดิจิทัลอื่น ๆ เพื่อจัดการกับเนื้อหาที่มีการเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มโดยผิดกฎหมายและก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อสังคมในด้านต่าง ๆ จากการให้บริการบนแพลตฟอร์มดิจิทัลเหล่านี้
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการดิจิทัลของสหราชอาณาจักร (Digital Services Act)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความฉบับนี้มุ่งอธิบายในเรื่องการตีความทางกฎหมายจากคำพิพากษาของศาล ECtHR และการอภิปรายของรัฐสภาเกี่ยวกับสิทธิของนักโทษในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง รวมถึงกฎหมายที่กำหนดให้นักโทษบางกลุ่มได้รับสิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งท้องถิ่นของสกอตแลนด์
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ สิทธิในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของนักโทษในสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
คำว่า “Revenge” แปลเป็นภาษาไทยว่า การแก้แค้น ส่วนคำว่า “Porn” แปลว่า ลามก โป๊ เมื่อนำทั้งสองคำมารวมกันแล้ว คือ การแก้แค้นผู้อื่นโดยใช้สื่อลามกอนาจารถือเป็นการกระทำที่เข้าข่ายเป็นอาชญากรรมตามกฎหมายของต่างประเทศ คำว่า Revenge Porn ใน Black’s Law Dictionary ให้ความหมายไว้ว่า ภาพถ่ายที่ได้สื่อให้เห็นเกี่ยวกับทางเพศ หรือวีดีโอของคนอื่นที่ได้มาโดยไม่มีความยินยอมจากเหยื่อ เพื่อเป็นการล้างแค้นคนรักเก่าที่ได้เลิกรากัน หรือเป็นการขู่กรรโชกเหยื่อ เป็นต้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ปัญหาข้อกฎหมายเกี่ยวกับ revenge pornography ของอังกฤษ เวลส์ และ สกอตแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดการแนวกันชนสีเขียวฉบับใหม่ของสหราชอาณาจักร เนื่องจากกฎหมายฉบับเดิมมีการบังคับใช้มากว่า ๗๐ ปีและไม่เคยได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับบริบททางเศรษฐกิจและสังคมของสหราชอาณาจักรในปัจจุบัน คาดว่าการปฏิรูปกฎหมายดังกล่าวจะช่วยแก้ปัญหาราคาที่อยู่อาศัยในเมืองใหญ่หลายแห่งที่พุ่งสูงจนสร้างความเดือดร้อนให้กับประชาชน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยการจัดการแนวกันชนสีเขียว (Green Belt (Protection) Private Members Bill) ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงพิมพ์เขียวสำหรับร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิของปัญญาประดิษฐ์ (AI Bill of Rights) ในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและขับเคลื่อนปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence) และระบบกลไกอัตโนมัติอื่น ๆ เพื่อการคุ้มครองสิทธิของประชาชนในสหรัฐฯ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ พิมพ์เขียวสำหรับร่างกฎหมายว่าด้วยสิทธิของปัญญาประดิษฐ์ (AI Bill of Rights) ในประเทศสหรัฐอเมริกา
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมาย Animal Welfare (Kept Animals) 2021-2022 เป็นร่างกฎหมายเกี่ยวกับสวัสดิภาพของสัตว์ที่อยู่ในประเทศ หรือถูกนำเข้ามาใน หรือส่งออกไปนอกบริเตนใหญ่ ซึ่งได้เริ่มพิจารณาในชั้นของสภาผู้แทนราษฏร (the House of Commons) เมื่อวันที่ ๘ มิถุนายน ค.ศ. ๒๐๒๑ พิจารณาในวาระที่ ๒ เมื่อวันที่ ๒๕ ตุลาคม ค.ศ. ๒๐๒๑ พิจารณาโดยคณะกรรมาธิการ (committee stage) ในระหว่างวันที่ ๙ ถึง ๑๘ พฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๒๑ และอยู่ในขั้นตอนของการรายงาน (report stage) เพื่อบรรจุเข้าสู่สมัยประชุมของรัฐสภาในปี ค.ศ. ๒๐๒๒-๒๐๒๓ (session 2022-23) โดยร่างกฎหมายฉบับนี้มีเจตนารมณ์เพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามคำแถลงการณ์ของพรรคอนุรักษ์นิยมในปี ค.ศ. ๒๐๑๙
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย Animal Welfare (Kept Animals) ของบริเตนใหญ่
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ในทางปฏิบัตินั้น “fire and rehire” หรือเรียกอีกอย่างว่า “dismissal and re-engagement”เกิดขึ้นเมื่อนายจ้างได้เลิกจ้างลูกจ้าง ซึ่งได้มีการเสนอแก่ลูกจ้างที่จะกลับมาจ้างงานใหม่อีกครั้งในเงื่อนไขข้อตกลงใหม่ โดยภายใต้ข้อตกลงใหม่นั้นก็มักจะเป็นการให้ประโยชน์แก่นายจ้างมากกว่าลูกจ้าง เทคนิคนี้มักมีการนำมาใช้ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถปฏิบัติตามข้อตกลงต่าง ๆ ภายใต้สัญญาฉบับเดิมได้ ในการที่นายจ้างทำการเลิกจ้าง และกลับมาทำสัญญาจ้างใหม่อีกครั้งไม่ถือว่าเป็นการกระทำที่ผิดกฎหมายแต่อย่างใด
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Fire and rehire tactics ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ร่างกฎหมาย National Security ได้รวบรวมมาตรการใหม่ที่สำคัญเพื่อปกป้องความมั่นคงของสหราชอาณาจักรซึ่งร่างกฎหมายฉบับนี้ได้มีการมาแทนที่และปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องหลายฉบับที่ล้าสมัย โดยมีการสร้างมาตรการในการบังคับใช้เพื่อให้อำนาจแก่หน่วยงานของรัฐที่บังคับใช้กฎหมายสามารถยับยั้ง,ตรวจสอบภัยคุกคามจากประเทศที่เป็นศัตรูซึ่งพยายามจารกรรมข้อมูลเพื่อประโยชน์ทางการค้า หรือทำการแทรกแซงโดยการส่งสายลับเข้ามาในสหราชอาณาจักรอย่างลับ ๆ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมาย National Security ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
CAZ เป็นหนึ่งในมาตรการในอังกฤษที่มีการนำมาบังคับใช้จริงในหลายเมืองของอังกฤษเช่น Bradford, Bristol และ Newcastle ซึ่งแสดงให้เห็นว่าหน่วยงานท้องถิ่นต้องดำเนินการจัดให้มี CAZ ภายใต้ NO2 plan โดย CAZ ได้กำหนดบริเวณสถานที่ ๆ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพอากาศ และทรัพยากรเพื่อประโยชน์ในการที่จะจัดลำดับความสำคัญรวมถึงการประสานงานในเมืองเพื่อส่งผลให้เกิดประโยชน์ด้านสุขภาพ รวมถึงสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ Clean air zone framework ของอังกฤษ
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎหมายว่าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักเกณฑ์แนวปฏิบัติและจรรยาบรรณสื่อสังคม) ปี ค.ศ. ๒๐๒๑ ( (Information Technology (Intermediary Guidelines and Digital Media Ethics Code) Rules, 2021) ของประเทศอินเดีย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้สำหรับการกำกับดูแลแพลตฟอร์มสื่อสังคมและป้องกันการใช้สื่อสังคมในทางที่ผิด
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎหมายว่าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักเกณฑ์แนวปฏิบัติและจรรยาบรรณสื่อสังคม) ค.ศ. ๒๐๒๑ (Information Technology (Intermediary Guidelines and Digital Media Ethics Code) Rules, 2021) ในประเทศอินเดีย
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงนโยบายต่าง ๆ ของประเทศในกลุ่มลาตินอเมริกาในการจัดการขยะพลาสติกเพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศทางทะเล เนื่องจากปริมาณขยะพลาสติกหลายล้านตันที่ถูกทิ้งลงมหาสมุทรทุกปีก่อให้เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ความหลากหลายทางชีวภาพและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ นโยบายในการกำจัดขยะพลาสติกเพื่ออนุรักษ์ระบบนิเวศทางทะเล ในกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา (Latin America)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงมาตรการทางกฎหมายของประเทศสิงคโปร์ในการกำกับดูแลการให้บริการการแพทย์ทางไกล (Telemedicine) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยในการจัดการปัญหาการเข้ารับบริการด้านสุขภาพผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ที่เริ่มได้รับความนิยมตั้งแต่ช่วงการแพร่ระบาดของโควิด ๑๙ จนถึงปัจจุบัน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ มาตรการทางกฎหมายของประเทศสิงคโปร์ ว่าด้วยการกำกับดูแลการให้บริการ “การแพทย์ทางไกล” (Telemedicine)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ความรับผิดทางอาญา (criminal responsibility) ถ้ามองในแง่ของความหมายจะเกี่ยวข้องกับการกำหนดว่าบุคคลจะมีความสามารถที่จะรับผิดชอบต่อการกระทำของตนและรับโทษในทางอาญาได้หรือไม่ โดยศาลจะพิจารณาลงโทษผู้กระทำความผิดให้เหมาะสมกับการกระทำนั้น ในเรื่องอายุของบุคคลกับความรับผิดทางอาญา (the age of criminal responsibility: ACR) กฎหมายกำหนดให้บุคคลต้องรับโทษในทางอาญา เมื่อมีหลักฐานเพียงพอว่าบุคคลนั้นมีความสามารถที่จะรับผิดชอบต่อการกระทำที่ได้กระทำลงไปตามกฎหมายอาญา
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ อายุของบุคคลกับความรับผิดทางอาญาของอังกฤษ เวลส์ เเละสกอตเเลนด์
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎระเบียบใหม่ขององค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ในการปรับปรุงคำจำกัดความของคำว่า “อาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Foods)” ที่ติดบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร โดยมีการกำหนดเงื่อนไขในการกล่าวอ้างการเป็นอาหารเพื่อสุขภาพในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ว่าจะต้องผ่านการพิจารณาปริมาณของสารอาหารแต่ละชนิดในผลิตภัณฑ์นั้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ประกาศปรับปรุงหลักเกณฑ์ใหม่สำหรับผลิตภัณฑ์ที่จัดเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ (Healthy Foods)
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้มุ่งนำเสนอถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในประเทศนิวซีแลนด์อันก่อให้เกิดผลกระทบต่างๆ ตามมา ซึ่งทำให้รัฐบาลนิวซีแลนด์มีการเสนอแผนการจัดเก็บภาษีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการปศุสัตว์ในประเทศนิวซีแลนด์เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและนโยบายจัดเก็บภาษีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากการปศุสัตว์ของประเทศนิวซีแลนด์
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความฉบับนี้มุ่งนำเสนอถึงกฎเกณฑ์ข้อบังคับขององค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา ที่มุ่งเน้นถึงการควบคุมผลิตภัณฑ์จากกัญชาและผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกัญชา และนำเสนอถึงผลกระทบต่างๆ จากนโยบายกัญชาถูกกฎหมายในสหรัฐอเมริกาอันเป็นที่มาของกฎเกณฑ์ในการควบคุมผลิตภัณฑ์ดังกล่าว
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ กฎเกณฑ์ข้อบังคับขององค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (Food and Drug Administration: FDA) ว่าด้วยเรื่องการควบคุมการผลิต การโฆษณา และการจำหน่ายกัญชาและผลิตภัณฑ์จากกัญชาเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
บทความนี้ ขอนำเสนอข้อเสนอแนะของหน่วยงานของต่างประเทศในการกำกับดูแลผู้ให้บริการแพลตฟอร์มออนไลน์ในเรื่องการป้องกันการคุกคามทางเพศที่ก่อให้เกิดผลที่ไม่พึงปรารถนาต่อผู้ใช้งานออนไลน์และเกิดผลร้ายต่อภาพรวมของสังคม
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> ข้อเสนอแนะในการกำกับดูแลผู้ให้บริการแพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อป้องกันการคุกคามทางเพศ จากศูนย์ต่อต้านความเกลียดชังทางดิจิทัล (Center for Countering Digital Hate)
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
เมื่อวันที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๖๕ เขตเศรษฐกิจของกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชียแปซิฟิก (APEC) ๗ แห่ง ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ได้ร่วมกันประกาศปฏิญญาร่วม ชื่อว่า "Global Cross-Border Privacy Rules Declaration" โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดอุปสรรคด้านกฎระเบียบของแต่ละเขตเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกัน
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> Global Cross-Border Privacy Rules Declaration ภายใต้กรอบ APEC
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๖๕ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาได้ลงนามในคำสั่งทางบริหารของประธานาธิบดี (Executive Order) เรื่องการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลอย่างมีความรับผิดชอบ (Ensuring Responsible Development of Digital Assets) โดยมีสาระสำคัญเป็นการกำหนดกรอบดำเนินงานด้านการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลของประเทศ และประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องที่สหรัฐฯ ให้ความสำคัญ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> คำสั่งทางบริหารของประธานาธิบดี (Executive Order) เรื่องการพัฒนาสินทรัพย์ดิจิทัลของสหรัฐอเมริกา
* บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
ประเทศฟิลิปปินส์มีความตื่นตัวในการผลักดันกิจกรรมด้านการค้าและการลงทุนภายในประเทศมาอย่างต่อเนื่อง ดังปรากฎความเคลื่อนไหวล่าสุดเมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้มีการประกาศใช้กฎหมาย Republic Act 11659 ซึ่งเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย Public Service Act โดยมีสาระสำคัญเกี่ยวข้องกับการผ่อนคลายข้อจำกัดด้านการถือครองกิจการภายในประเทศของชาวต่างชาติ
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> การแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมาย Public Service Act เรื่องการถือครองกิจการของชาวต่างชาติของประเทศฟิลิปปินส์
ภายหลังจากที่มีการประกาศยุทธศาสตร์ข้อมูลของสหภาพยุโรป (European strategy for data)ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๒๐๒๐ คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปได้เสนอกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูลเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว โดยเสนอกฎหมาย Data Governance Act และได้รับความเห็นชอบเมื่อเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. ๒๐๒๑ กำหนดกระบวนการและโครงสร้างเพื่ออำนวยความสะดวกในการแบ่งปันข้อมูลโดยบริษัทเอกชน บุคคล และภาครัฐ ต่อมาจึงได้มีการเสนอกฎหมาย Data Act ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. ๒๐๒๒ เพื่อกำหนดบุคคลที่สามารถสร้างมูลค่าของข้อมูลให้มีความชัดเจนภายใต้เงื่อนไขของกฎหมาย ทั้งนี้ การประกาศใช้ยุทธศาสตร์และการบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวมีเจตนารมณ์เพื่อยกระดับศักยภาพทางการจัดการข้อมูลของสหภาพยุโรป ทำให้ข้อมูลสามารถไหลเวียนในภูมิภาคและข้ามภาคส่วนได้อย่างอิสระเพื่อประโยชน์ของภาคธุรกิจ นักวิจัย การบริหารราชการ และสังคมโดยรวม เข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่... กฎหมายว่าด้วยข้อมูลของสหภาพยุโรป (Data Act).pdf
บทความนี้มีเนื้อหาเชิญชวนให้ทุกท่านตระหนักถึงกระแสของ Fast Fashion ที่มีองค์ประกอบของการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในห่วงโซ่อุปทานการผลิตที่หลากหลายและซับซ้อน ซึ่งนำมาสู่ความท้าทายในมิติของการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน และประเด็นด้านสิทธิมนุษยชน โดยจะนำเสนอเป็นตอนที่ ๑ และจะยกตัวอย่างกรณีร่างกฎหมายของรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาที่มีวัตถุประสงค์เป็นการกำกับดูแลอุตสาหกรรมแฟชั่นโดยตรง ดังมีรายละเอียดที่จะนำเสนอเป็นตอนที่ ๒ ต่อไป
ผู้สนใจบทความฉบับเต็ม ตอนที่ ๑ สามารถเข้าถึงได้ที่นี่ >>> Fast Fashion 1
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
ในตอนที่ ๑ ผู้เขียนได้กล่าวถึงความท้าทายของกระแส Fast Fashion ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมแล้ว ตอนที่ ๒ นี้ ขอนำเสนอร่างกฎหมายที่น่าสนใจของรัฐนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา เพื่อเป็นกรณีตัวอย่างของกฎหมายที่มีวัตถุประสงค์ในการกำกับดูแลและกำหนดกฎระเบียบด้านความยั่งยืนสำหรับอุตสาหกรรมแฟชั่นโดยตรง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> Fast Fashion 2
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
นิวยอร์กเป็นมลรัฐที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด - ๑๙ สูงเป็นอันดับ ๔ ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งนับตั้งแต่เดือนมีนาคม ค.ศ. ๒๐๒๐ นายแอนดรูว์ คูโอโม (Andrew Cuomo) ผู้ว่าการมลรัฐได้ดำเนินมาตรการลดผลกระทบของการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นภายในรัฐด้วยมาตรการที่หลากหลาย เช่น มาตรการเยียวยาทางการเงินด้านที่พักอาศัยเพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบ โดยจะผ่อนปรนการชำระหนี้สำหรับที่พักอาศัยและงดการรายงานข้อมูลไปที่ศูนย์ข้อมูลเครดิต รวมถึงลดค่าธรรมเนียมการชำระหนี้ล่าช้า และสำหรับมาตรการทางกฎหมายได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเกี่ยวกับระยะเวลาพักการชำระหนี้ การขับไล่ออกจากอสังหาริมทรัพย์ และการบังคับคดี และแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายคุ้มครองธุรกิจขนาดเล็ก (Protect Our Small Business Act) ซึ่งเป็นการเสนอของวุฒิสภาเพื่อช่วยเหลือผู้เช่าและเจ้าของบ้านพักอาศัยในมลรัฐนิวยอร์กที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด - ๑๙
สหภาพยุโรปเป็นกลุ่มประเทศที่มีบทบาทเป็นผู้นำในเรื่องการดำเนินการเพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เห็นได้จากการจัดทำนโยบายปฏิรูปสีเขียว แผนปฏิบัติการด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน และการจัดทำกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการติดฉลากผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อม บทความนี้ ขอนำเสนอสาระที่น่าสนใจเกี่ยวกับ “สิทธิในการซ่อม” หรือ “Right to Repair” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินการที่สอดคล้องกับแผนการดำเนินงานเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน โดยผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> สิทธิในการซ่อม (Right to Repair) ของสหภาพยุโรป
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
การแพร่ระบาดของ COVID-19 เป็นปัญหาที่ท้าทายการดำเนินงานของหลายภาคส่วน และทำให้เห็นถึงความท้าทายที่เกี่ยวข้องกับความเป็นเมืองในหลาย ๆ ด้าน โครงการตั้งถิ่นฐานมนุษย์แห่งสหประชาชาติ (UN-Habitat) ได้ให้ข้อเสนอแนะประเด็นการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะและเมืองของภาครัฐในการรับมือ การเตรียมความพร้อมกับการแพร่ระบาดที่อาจเกิดขึ้นในลักษณะเดียวกันที่สามารถนำมาปรับใช้กับสถานการณ์ปัจจุบันของประเทศไทยได้ โดยมีสาระสำคัญที่น่าสนใจดังที่กล่าวถึงในบทความนี้ >>> การแพร่ระบาดของ COVID - 19 กับการใช้พื้นที่สาธารณะและความเป็นเมือง
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
เป็นเวลาหลายทศวรรษที่สิทธิมนุษยชนได้รับการคุ้มครองภายใต้กฎบัตรระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ขณะที่การเปลี่ยนแปลงของสังคมปัจจุบันเป็นช่วงของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่สี่และเป็นยุคของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล บทความนี้ ขอชวนทุกท่านคิดว่าถึงเวลาแล้วหรือยังที่ประชาคมโลกจะต้องปรับปรุงกฎหมายที่สนับสนุนแนวคิดใหม่ ๆ ด้านสิทธิมนุษยชนที่สอดคล้องกับสังคมดิจิทัล ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญในการสร้างกฎเกณฑ์ระหว่างประเทศที่ยุติธรรม ยืดหยุ่น สอดคล้อง และพัฒนาให้กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศมี Function ที่สามารถใช้งานได้จริงและมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >> Why we need a Declaration of Global Digital Human Rights
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
กฎหมายถิ่นที่อยู่ของข้อมูล หรือ “Data residency laws” เป็นคำที่ค่อนข้างใหม่ และถูกเรียกในชื่อที่หลากหลาย เช่น "Data Sovereignty" หรือ "Data Localization" และการใช้บังคับกฎหมายดังกล่าวอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคัญต่อประเด็นความเป็นส่วนตัว (privacy) ความมั่นคงปลอดภัยของรัฐ (national security) และในการดำเนินกิจกรรมทางการค้า (commerce) บทความนี้จึงขอนำเสนอข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยถิ่นที่อยู่ของข้อมูล (Data residency laws) โดยผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> กฎหมายว่าด้วยถิ่นที่อยู่ของข้อมูล (Data residency laws)
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
การสื่อสารของสื่อใหม่หรือสื่อ Social Media ในปัจจุบัน เช่น Facebook Instagram YouTube มีลักษณะเป็นการสื่อสารสองทาง (Two-way communication) ซึ่งผู้บริโภคไม่เพียงแต่เป็นผู้รับสารหากแต่ยังสามารถมีส่วนร่วมในการผลิตเนื้อหา และความท้าทายที่สำคัญสำหรับบริบทดังกล่าวคือการบริโภคเนื้อหาที่อาจไม่ได้รับการกลั่นกรองอย่างถูกต้องเหมาะสม และโดยที่อายุของผู้รับสารเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงสื่อและการตอบสนองต่อสื่อ ปัจจุบันจึงเห็นภาคการศึกษาในหลายประเทศให้ความสำคัญกับการส่งเสริมการเรียนการสอนเรื่องการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) บทความนี้จึงจะขอนำเสนอแนวทางการใช้มาตรการทางกฎหมายในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวในภาคการศึกษาของสหรัฐอเมริกา
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) ของเยาวชนในภาคการศึกษาของสหรัฐอเมริกา
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
การใช้สมาร์ทโฟนและโซเชียลมีเดียได้เปลี่ยนกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชนจากการเล่นในสนามเด็กเล่นไปสู่การเข้าถึงกิจกรรมบนอินเตอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์ได้ทุกที่ทุกเวลา บทความนี้ ขอนำเสนอข่าวสารการพิจารณาเนื้อหาของวิดีโอที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กของคณะกรรมการการค้าของสหรัฐอเมริกา (Federal Trade Commission) ที่ได้กล่าวถึงกรณีเนื้อหาของวิดีโอที่มีลักษณะมุ่งตรงไปสู่เด็ก (child-directed) ไว้เป็นที่น่าสนใจ
ผู้สนใจสามารถเช้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> เกณฑ์การพิจารณาเนื้อหาวิดีโอที่ไม่เหมาะสมต่อเด็กของคณะกรรมการการค้าสหรัฐอเมริกา
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
การดำเนินการเกี่ยวกับการกำกับดูแลปัญญาประดิษฐ์ของสหภาพยุโรปในช่วงที่ผ่านมา ให้ความสำคัญตั้งแต่ต้นทางของการผลิต ส่งเสริมการสร้างระบบนิเวศแห่งความไว้เนื้อเชื้อใจ (ecosystem of trust) เพื่อให้ได้มาซึ่งการเป็นปัญญาประดิษฐ์ที่มีความน่าเชื่อถือ (TRUSTWORTHY AI) ต่อมา คณะกรรมาธิการยุโรปได้เผยแพร่เอกสาร “White Paper on Artificial Intelligence – A European Approach to Excellence and Trust” ซึ่งเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับการดำเนินการของสหภาพยุโรปด้านปัญญาประดิษฐ์ และปัญญาประดิษฐ์ที่มีความเสี่ยงสูง (High-risk AI applications) โดยได้เสนอแนวทางการกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาการเป็นเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ที่มีความเสี่ยงสูงดังที่จะกล่าวถึงในบทความนี้
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ ข้อเสนอเชิงนโยบายในการจัดทำกฎหมายปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ของสหภาพยุโรป
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
อิสราเอลเป็นประเทศที่มีบทบาทนำด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ การคิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Life Science) และเทคโนโลยีเครื่องมือแพทย์ ธุรกิจ Medical Tourism ก็เป็นสาขาหนึ่งที่สามารถดึงดูดเงินทุนจากต่างประเทศ เพิ่มการจ้างงานและเป็นช่องทางการระดมทุนที่สำคัญสำหรับการบริหารจัดการระบบสาธารณสุขของประเทศ บทความนี้ จะขอกล่าวถึงสถานการณ์ปัจจุบัน ปัญหาและผลกระทบจากธุรกิจ Medical Tourism ของประเทศอิสราเอล และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่นี่ >>> กฎหมาย Medical Tourism ของประเทศอิสราเอล
(บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียน เว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย)
ร่างกฎหมายฉบับนี้ได้รวมมาตรการที่อนุญาตให้สหราชอาณาจักร (อังกฤษ เวลส์ สกอตแลนด์ และ ไอร์แลนด์เหนือ) กำกับดูแลการเพิ่มอายุขั้นต่ำของสัตว์ที่เป็น สุนัข และแมวที่ถูกนำเข้าและห้ามการนำเข้าสุนัขและแมวที่ตั้งครรภ์เกินกว่า ๔๒ วัน หรือที่ถูกตัดอวัยวะ(Mutilation) เช่น สุนัขที่ถูกตัดหู (ears cropped) และตัดหาง (tail docked) รวมถึงแมวที่ถูกถอดกรงเล็บ (declawing) เป็นต้น
ผู้สนใจสามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ ร่างกฎหมายว่าด้วยสวัสดิภาพสัตว์ในการนำเข้าสุนัข แมว และเฟอเรท (Animal Welfare (Import of Dogs, Cats and Ferrets) ของสหราชอาณาจักร
*บทความในเว็บไซต์เป็นผลงานทางวิชาการของผู้เขียนเว็บไซต์ LawforASEAN / สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย
© 2017 Office of the Council of State.